รายพระนามผู้ปกครองซัคเซิน
ราชธิปไตย แห่งซัคเซิน | |
---|---|
ราชาธิปไตยในอดีต | |
รัฐ | |
Coat of Arms of the Kingdom of Saxony 1806-1918.svg | |
Royal coat of arms | |
![]() | |
ฟรีดริช เอากุสต์ที่ 3 | |
| |
ปฐมกษัตริย์ | ฮาดูกาโต |
องค์สุดท้าย | ฟรีดริช เอากุสต์ที่ 3 |
อิสริยยศ | ฝ่าละอองธุลีพระบาท |
เริ่มระบอบ | 531 |
สิ้นสุดระบอบ | 13 November 1918 |
ผู้อ้างสิทธิ์ | เป็นที่ถกเถียง: เจ้าชายรือดีเกร์ or เจ้าชายอเล็กซานเดอร์ |
เจ้าผู้คัดเลือกแห่งซัคเซิน[แก้]
เจ้าผู้คัดเลือกแห่งซัคเซิน | |||||
---|---|---|---|---|---|
ราชวงศ์อัสคาเนีย | |||||
พระรูป | พระนาม | เริ่มรัชกาล | สิ้นรัชกาล | หมายเหตุ | |
![]() |
รูดอล์ฟที่ 1 | 10 มกราคม 1356 | 11 มีนาคม 1356 | ดยุคแห่งแซ็กซ์-วิทเทินเบิร์กตั้งแต่ 1298 | |
![]() |
รูดอล์ฟที่ 2 | 11 มีนาคม 1356 | 6 ธันวาคม 1370 | พระราชโอรส | |
![]() |
เวนเซล Wenzel |
6 ธันวาคม 1370 | 15 พฤษภาคม 1388 | พระอนุชา | |
![]() |
รูดอล์ฟที่ 3 | 15 พฤษภาคม 1388 | 9 มิถุนายน 1419 | พระราชโอรส | |
![]() |
อัลเบรชที่ 3 Albrecht II |
9 มิถุนายน 1419 | 12 พฤศจิกายน 1422 | พระอนุชา | |
ราชวงศ์เวททิน | |||||
พระรูป | พระนาม | เริ่มรัชกาล | สิ้นรัชกาล | หมายเหตุ | |
![]() |
ฟรีดริชที่ 1 Friedrich I |
6 มกราคม 1423 | 4 มกราคม 1428 | มีพระสมัญญาว่า "ผู้โปรดปรานสงคราม" หลังราชวงศ์อัสคาเนียสายวิทเทนเบิร์กสิ้นสุดลงโดยปราศจากทายาท, รัฐผู้คัดเลือกถูกส่งต่อไปยังฟรีดริช มาร์เกรฟแห่งไมเซินและแลนด์กราฟแห่งทูริงเกียแห่งราชวงศ์เวททิน | |
![]() |
ฟรีดริชที่ 2 Friedrich II |
4 มกราคม 1428 | 7 กันยายน 1464 | มีพระสมัญญาว่า "ผู้อ่อนโยน" พระราชโอรสในฟรีดริชที่ 1 ปกครองร่วมกับเหล่าพระอนุชาในซัคเซิน but was the sole holder of the Electorate. Father of Ernest and Albert, founders of the Ernestine (continuing below) and Albertine Saxon lines (see section Albertine Dukes of Saxony above in this article). | |
ราชสกุลเออร์เนสไทน์ | |||||
![]() |
แอร์นสต์ Ernst |
7 กันยายน 1464 | 26 สิงหาคม 1486 | พระราชโอรสในฟรีดริชที่ 2 ทรงแบ่งซัคเซินให้พระอนุชา, ได้ วิทเทินเบิร์ก, ไมเซินเหนือ, และทูริงเกียใต้. ได้รับทูริงเกียในค.ศ. 1482 ปกครองร่วมกับอัลเบิร์ตถึง 1485 | |
![]() |
ฟรีดริชที่ 3 Friedrich III |
26 สิงหาคม 1486 | 5 พฤษภาคม 1525 | มีพระสมัญญาว่า "ผู้ทรงปัญญา" พระราชโอรสในแอร์นส์ เป็นผู้พิทักษ์มาร์ติน ลูเทอร์, แต่ทรงเป็นคาทอลิกมาตลอดพระชนม์ชีพ | |
![]() |
โยฮัน Johann |
5 พฤษภาคม 1525 | 16 สิงหาคม 1532 | มีพระสมัญญาว่า "ผู้มุ่งมั่น" พระอนุชาในฟรีดริชที่ 3 ทรงรับรองนิกายลูเทอรันในดินแดนนี้ 1527. | |
![]() |
โยฮัน ฟรีดริชที่ 1 Johann Friedrich I |
16 สิงหาคม 1532 | 19 พฤษภาคม 1547 | มีพระสมัญญาว่า "ผู้ใจกว้าง" พระราชโอรสในโยฮันผู้มุ่งมั่น ถูกปลดจากตำแหน่งโดยคาร์ลที่ 5 เนื่องจากบทบาทของพระองค์สงครามสมาลคาลดิก สิ้นพระชนม์ 1554. | |
ราชสกุลอัลเบอร์ไทน์ | |||||
มอริตซ์ Moritz |
4 มิถุนายน 1547 | 11 กรกฎาคม 1553 | พระญาติในโยฮัน ฟรีดริช, พระราชนัดดาในอัลเบรช นับถือนิกายลูเทอรัน, ทรงเป็นพันธมิตรจักรพรรดิคาร์ลที่ 5 เป็นปฏิปักษ์กับสันนิบาตสมาลคาลดิก ได้รับเลือกจากสายอัลเบอร์ไทน์ในค.ศ. 1547 หลังคาร์ลที่ชนะในยุทธการที่มึนลเบิร์ก | ||
![]() |
เอากุสต์ที่ 1 August I |
11 กรกฎาคม 1553 | 12 กุมภาพันธ์ 1586 | พระอนุชา ได้รับการรับรองในฐานะเจ้าผู้คัดเลือก ทรงขับไล่ โยฮัน ฟรีดริชในค.ศ. 1554. | |
![]() |
คริสเตียนที่ 1 | 12 กุมภาพันธ์ 1586 | 25 กันยายน 1591 | พระราชโอรส | |
![]() |
คริสเตียนที่ 2 | 25 กันยายน 1591 | 23 มิถุนายน 1611 | พระราชโอรส | |
![]() |
โยฮัน เกออร์กที่ 1 Johann Georg I |
23 มิถุนายน 1611 | 8 ตุลาคม 1656 | พระอนุชา ปกครองระหว่างสงครามสามสิบปี, ซัคเซินเป็นพันธมิตรกับจักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์และกษัตริย์สวีเดน. | |
![]() |
โยฮัน เกออร์กที่ 2 Johann Georg II |
8 ตุลาคม 1656 | 1 กันยายน 1680 | พระราชโอรส | |
โยฮัน เกออร์กที่ 3 Johann Georg III |
1 กันยายน 1680 | 22 กันยายน 1691 | พระราชโอรส | ||
![]() |
โยฮัน เกออร์กที่ 4 Johann Georg IV |
22 กันยายน 1691 | 27 เมษายน 1694 | พระราชโอรส | |
ฟรีดริช เอากุสต์ที่ 1 Friedrich August I |
27 เมษายน 1694 | 1 กุมภาพันธ์ 1733 | พระอนุชา ทรงหันมานับถือคาทอลิก 1697 เพื่อให้ครบคุณสมบัติในการรับราชสมบัติโปแลนด์. ทรงสวมมงกุฎของโปแลนด์ในค.ศ. 1697, การขึ้นครองราชย์ถูกโต้แย้งโดยสตานิสเลาส์ เลสซินสกี้ในค.ศ. 1704, ทรงถูกบังคับให้สละสิทธิ์ในค.ศ. 1706, กลับมาเป็นกษัตริย์ 1709 จนกระทั่งสวรรคต มีพระสมัญญาว่า "ผู้แข็งแรง". | ||
![]() |
ฟรีดริช เอากุสต์ที่ 2 Friedrich August II |
1 กุมภาพันธ์ 1733 | 5 ตุลาคม 1763 | พระราชโอรส ทรงหันมานับถือคาทอลิก 1712 เป็นกษัตริย์โปแลนด์ 1734–1763. ได้รับฉายา ""ผู้อ้วนท้วม" หรือ (ในโปแลนด์) "ซัคเซิน" | |
![]() |
ฟรีดริช คริสเตียน Friedrich Christian |
5 ตุลาคม 1763 | 17 ธันวาคม 1763 | พระราชโอรส, นับถือคาทอลิก | |
![]() |
ฟรีดริช เอากุสต์ที่ 3 Friedrich August III |
17 ธันวาคม 1763 | 20 ธันวาคม 1806 | พระราชโอรส ทรงเป็นกษัตริย์กษัตริย์ซัคเซิน ในค.ศ. 1806 มีพระสมัญญาว่า "ผู้ทรงธรรม" |
ราชอาณาจักรซัคเซิน[แก้]
ราชวงศ์เวททิน[แก้]
จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์สลายตัวในค.ศ. 1806 อิเล็กเตอร์แห่งซัคเซิน, พันธมิตรของนโปเลียน, จึงจัดตั้งราชอาณาจักรซัคเซินในค.ศ. 1806.
พระประมุข | ประสูติ | รัชกาล | สวรรคต | ปกครง | พระมเหสี | หมายเหตุ | |
---|---|---|---|---|---|---|---|
ฟรีดริช เอากุสต์ที่ 1 (Friedrich August I der Gerechte) |
![]() |
23 ธันวาคม 1750 | 20 ธันวาคม 1806 – 5 พฤษภาคม 1827 | 5 พฤษภาคม 1827 | ราชอาณาจักรซัคเซิน | อมาลี แห่งซไวน์บูร์เคิน-บริเคินเฟลด์ 17 มกราคม 1769 มันไฮม์ (ตัวแทน) 29 มกราคม 1769 เครสเดน (บุคคล) 4 พรระองค์ |
เป็น ดยุคแห่งวอร์ซอ 1807–1813 ไม่มีพระราชโอรส พระอนุชาครองราชย์ต่อ |
แอนทอนผู้ใจดี (Anton der Gütige) |
![]() |
27 ธันวาคม 1755 | 5 พฤษภาคม 1827 – 6 มิถุนายน 1836 | 6 มิถุนายน 1836 | ราชอาณาจักรซัคเซิน | มาเรีย แคโรลินาแห่งซาวอย 29 กันยายน 1781 สตูปิงลี (ตัวแทน) 24 ตุลาคม 1781 เดรสเดน (บุคคล) ไม่มี มาเรีย เทเรซ่าแห่งออสเตรีย 8 กันยายน 1787 ฟลอเรนซ์ (ตัวแทน) 18 ตุลาคม 1787 เดรสเดน (บุคคล) 4 พระองค์ |
ไม่มีพระโอรส พระภาติยะรับราชสมบัติต่อ |
ฟรีดริช เอากุสต์ที่ 2 (Friedrich August II) |
![]() |
18 พฤษภาคม 1797 | 6 มิถุนายน 1836 – 9 สิงหาคม 1854 | 9 สิงหาคม 1854 | ราชอาณาจักรซัคเซิน | มาเรีย แคโรลินาแห่งออสเตรีย 26 กันยายน 1819 เวียนนา (ตัวแทน) 7 ตุลาคม 1819 เดรสเดน (บุคคล) ไม่มี มาเรีย อันนาแห่งบาวาเรีย 24 เมษายน 1833 เดรสเดน ไม่มี |
พระราชโอรสในเจ้าชายแม็กซิมิเลียนแห่งซีคเซิน ไม่มีพระราชโอรส พระอนุชาครองราชย์ต่อ |
โยฮัน (Johann I) |
![]() |
12 ธันวาคม 1801 | 9 สิงหาคม 1854 – 29 ตุลาคม 1873 | 29 ตุลาคม 1873 | ราชอาณาจักรซัคเซิน | อามาลี เอากุสเทอแห่งบาวาเรีย 10 พฤศจิกายน 1822 มิวนิค (ตัวแทน) 21 พฤศจิกายน 1822 เดรสเดน (บุคคล) 9 พระองค์ |
กลายเป็นผู้ปกครองภายใต้จักรวรรดิเยอรมันหลังการรวมชาติเยอรมัน ในค.ศ. 1871 |
อัลเบรชผู้ดีงาม (Albrecht der Gute) |
![]() |
23 เมษายน 1828 | 29 ตุลาคม 1873 – 19 มิถุนายน 1902 | 19 มิถุนายน 1902 | ราชอาณาจักรซัคเซิน | คาโรลาแห่งสวีเดน 18 มิถุนายน 1853 เดรสเดน ไม่มี |
|
เกออร์ค (Georg) |
![]() |
8 สิงหาคม 1832 | 19 มิถุนายน 1902 – 15 ตุลาคม 1904 | 15 ตุลาคม 1904 | ราชอาณาจักรซัคเซิน | มาเรีย อันนาแห่งโปรตุเกส 11 พฤษภาคม 1859 ลิสบอน 8 พระองค์ |
|
ฟรีดริช เอากุสต์ที่ 3 (Friedrich August III) |
![]() |
25 พฤษภาคม 1865 | 15 ตุลาคม 1904 – 13 พฤศจิกายน 1918 | 18 กุมภาพันธ์ 1932 | ราชอาณาจักรซัคเซิน | หลุยส์แห่งออสเตรีย 21 พฤศจิกายน 1891 เวียนนา (ทรงหย่าโดยพระราชกฤษฎีกาในค.ศ. 1903, หลังพระนามออกไปจากราชสำนัก) 7 พระองค์ |
พระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้าย สละราชสมบัติโดยสมัครใจในการปฏิวัติเยอรมัน 1918–1919[1] |
ประมุขราชวงศ์เวททินหลังค.ศ. 1918[แก้]
- ฟรีดริช เอากุสท์ที่ 3 , 1918–1932
- มาร์กราฟฟรีดริช คริสเตียน, 1932–1968
- มาร์กราฟมาเรีย เอมานูเอล, 1968–2012
- มาร์กราฟอัลเบรช, 2012 (เป็นที่ถกเถียง)
- มาร์กราฟอเล็กซานเดอร์, ตั้งแต่ 2012 (เป็นที่ถกเถียง)
- มาร์กราฟรือดิเกร์, 2012-2022 (เป็นที่ถกเถียง)
- เจ้าชายดาเนียล, ตั้งแต่ 2022
- เจ้าชายไมเคิลแห่งแซ็กซ์-ไวมาร์, ตั้งแต่ 2012 (เป็นที่ถกเถียง (ตั้งแต่พระบิดาของพระองค์สิ้นพระชนม์ใน ค.ศ. 1988,เจ้าชายไมเคิลกลายเป็นพระกุลเชษฐ์แห่งราชวงศ์เวททิน)
อ้างอิง[แก้]
- ↑ "Information in English language - Saxony during the Weimar Republic 1918-1933". www.sachsen.de. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 April 2016. สืบค้นเมื่อ 7 May 2018.