ข้ามไปเนื้อหา

รายชื่อแม่น้ำในประเทศจีน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
รายชื่อแม่น้ำในประเทศจีนในสมัยโบราณ

จากการสำมะโนการอนุรักษ์น้ำแห่งชาติครั้งที่ 1 ระหว่างปี 2010–2012 ประเทศจีนมีแม่น้ำที่มีพื้นที่ลุ่มน้ำขนาดใหญ่ 50 ตารางกิโลเมตรขึ้นไป มากกว่า 45,203 สาย (ไม่นับรวมเขตบริหารพิเศษฮ่องกง เขตบริหารพิเศษมาเก๊า และเกาะไต้หวัน) และความยาวรวมทั้งหมด 1.5085 ล้านกิโลเมตร[1]

กลุ่มแม่น้ำตามภูมิศาสตร์

[แก้]

แม่น้ำสายสำคัญในประเทศจีน แบ่งเป็นกลุ่มใหญ่ ๆ ตามพื้นที่ลุ่มน้ำและแหล่งน้ำขนาดใหญ่ที่รับการระบายน้ำจากแม่น้ำเหล่านี้ ได้แก่

  • แม่น้ำภายในทวีปและแม่น้ำที่ผ่านเขตแดนประเทศต่าง ๆ ที่ไหลลงในระบบพื้นที่ลุ่มน้ำแบบปิด (พื้นที่ลุ่มน้ำเอนดอร์เฮอิก หรือพื้นที่ลุ่มน้ำภายในทวีป) ได้แก่ แอ่งทาริม เช่น แม่น้ำทาริม

นอกจากนี้ยังรวมถึงคลองที่มนุษย์สร้าง เช่น คลองใหญ่ปักกิ่ง-หางโจว (คลองเหนือ-ใต้), คลองหลิง และโครงการผันน้ำจากใต้สู่เหนือ (แม่น้ำหวงสู่แม่น้ำโขง) แม่น้ำแยงซี)

ในบรรดาระบบแม่น้ำและพื้นที่ลุ่มน้ำที่ใหญ่ที่สุด 10 อันดับแรกของโลก มีเพียงสองลุ่มน้ำเท่านั้นที่กินอาณาบริเวณอยู่ภายในประเทศเดียว นั่นคือแม่น้ำแยงซีและแม่น้ำหวงของจีน ที่เหลือนั้นเป็นแม่น้ำที่หลายประเทศครอบครองร่วมกัน ซึ่งในจำนวนแม่น้ำระดับสากลลักษณะนี้ มี 6 สาย (จาก 8 สาย) ที่ไหลผ่านประเทศจีน ได้แก่ แม่น้ำเฮย์หลง (แม่น้ำอามูร์ตอนบน), แม่น้ำอิร์ตีช (ต้นน้ำของแม่น้ำอ็อบ), แม่น้ำล้านช้าง (แม่น้ำโขงตอนบน) และแม่น้ำนู่เจียง (ต้นน้ำของแม่น้ำสาละวิน), แม่น้ำพรหมบุตร (แม่น้ำพรหมบุตรตอนบน, ต้นกำเนิดของลุ่มน้ำสินธุ-คงคา), แม่น้ำชือฉวน (แม่น้ำสินธุตอนบน)

คำเรียกในภาษาจีน

[แก้]

แม่น้ำ คือ เป็นทางน้ำธรรมชาติที่มีขนาดใหญ่ เป็นคำศัพท์ทั่วไปที่ในทางวิทยาศาสตร์หมายถึงกระแสน้ำตามธรรมชาติทั้งหลาย รวมทั้งกระแสน้ำขนาดเล็ก เช่น ลำธาร คลอง เป็นต้น

คำเรียกในภาษาจีนต่อไปนี้ หมายถึง 'แม่น้ำ' ด้วยการออกเสียงตามอักษรไทยที่ทับศัพท์ตามระบบพินอิน ในภาษาจีนกลาง

อักษรไทย อักษรจีน พินอิน คำอธิบายการใช้ ตัวอย่าง
ตัวย่อ ตัวเต็ม
แม่น้ำ
เหอ นิยมใช้ทางภาคเหนือ[2] และพบใช้มากที่สุดในการเรียกชื่อแม่น้ำในภาษาจีน แม่น้ำหวง (黄河; หวงเหอ)
เจียง jiāng นิยมใช้ทางภาคใต้[2] สำหรับแม่น้ำสายสำคัญ แม่น้ำแยงซี (长江; ฉางเจียง)
ชฺวัน chuān ใช้สำหรับลำธาร หรือแม่น้ำที่แคบ แม่น้ำหลงชวน (龙川)
ฉุ่ย shuǐ เป็นคำเรียกแบบทั่วไปในสมัยโบราณ แม่น้ำฮั่น (汉水; ฮั่นฉุ่ย)
ชู ลำน้ำเซ่อ (色曲)
ซี ใช้สำหรับลำน้ำสาขา, ลำธาร, ห้วย ลำน้ำฮั่ว (藿溪)
คลอง
ยฺวิ่นเหอ 运河 運河 yùnhé คลองขนาดใหญ่ มีความยาวข้ามมณฑล คลองใหญ่ (京杭运河)
ฉู คลองที่ไม่ยาวมากนัก คลองหลิง (灵渠)

รายชื่อแม่น้ำในประเทศจีนต่อไปนี้ แสดงด้วยตำแหน่งของปากน้ำที่ไหลระบายลงในแต่ละแอ่งรับน้ำ (แอ่งมหาสมุทร) หรือทะเล โดยเริ่มจากทางใต้สู่ทางเหนือ ซึ่งรายชื่อแม่น้ำหลักแต่ละสาย แสดงแม่น้ำสาขา แคว และแควสาขา เฉพาะที่สำคัญ (เรียงจากแอ่งรับน้ำ, ปากแม่น้ำหลัก ไปยังต้นน้ำ)

แอ่งมหาสมุทรแปซิฟิก

[แก้]

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อแม่น้ำสายสำคัญในด้านตะวันออกของจีนและไหลลงสู่ทะเลต่าง ๆ ของมหาสมุทรแปซิฟิก เริ่มจากทะเลทางใต้สู่เหนือ (เรียงจากฝั่งทางตะวันออกใกล้ไปไกลที่สุดจากประเทศไทย)

ทะเล แม่น้ำหลัก แม่น้ำสาขา แคว / แควสาขา ที่ตั้งและระบบแม่น้ำ ความยาว

(กิโลเมตร)

พื้นที่ลุ่มน้ำ(ตารางกิโลเมตร) หมายเหตุ
ทะเลจีนใต้ แม่น้ำโขง (湄公河 หรือ 澜沧江; Mekong หรือ Lancang River) แม่น้ำหนานลั่ว (南洛河;Nanluo River)
  • แม่น้ำหนานหล่าน (南览河) : แม่น้ำระหว่างประเทศ ปลายน้ำและปากน้ำบรรจบกับแม่น้ำโขงในประเทศพม่า
  • แม่น้ำหนานเหล่ย์ (南垒河) : แม่น้ำระหว่างประเทศ ปลายน้ำและปากน้ำบรรจบกับแม่น้ำโขงในประเทศพม่า
4,800[3] 795,000[3] ในประเทศจีนเรียก แม่น้ำล้านช้าง

เมื่อไหลผ่านเขตแดนระหว่างประเทศพม่า-ประเทศลาว มีชื่อเรียกแม่น้ำโขง

แม่น้ำหนานล่า (南腊河;Nanluo River)
  • แม่น้ำหนานรุ่น (南润河) : แม่น้ำระหว่างประเทศ ต้นน้ำอยู่ในประเทศลาว บรรจบกับแม่น้ำโขงในประเทศจีน
แม่น้ำปู้หยวน (补远江;Buyuan River) หรือเรียกอีกอย่างว่าแม่น้ำหลัวซัว, แม่น้ำหนานปัน)
แม่น้ำเสี่ยวเฮย์(ฝั่งซ้าย)-แม่น้ำเวย์หยวน (小黑江-威远江)
แม่น้ำเสี่ยวเฮย์(ฝั่งขวา)-แม่น้ำหนานผี (小黑江-南皮河)
แม่น้ำย่างปี้ (漾濞江)
ลำน้ำเซ่อ (色曲) หรือ แม่น้ำจิน (金河)
ลำน้ำม่าย (麥曲)
ลำน้ำอั๋ง (昂曲)
ลำน้ำจึ (子曲)
แม่น้ำแดง-แม่น้ำหยวน

(红河-元江; Red River-Yuan River)

แม่น้ำโล-แม่น้ำผานหลง (泸江-盘龙江)
  • แม่น้ำจั๋ย (沚江; Chảy River):แม่น้ำระหว่างประเทศ ทั้งต้นน้ำและปลายน้ำอยู่ในเวียดนามและตอนกลางเป็นแม่น้ำกั้นเขตแดนจีน-เวียดนาม
    • แม่น้ำไป่โตว (百都河):แม่น้ำระหว่างประเทศ ปลายน้ำในเวียดนาม
1,149 (เฉพาะในประเทศจีน 627) 143,700

(เฉพาะในประเทศจีน 76,276)

แม่น้ำระหว่างประเทศที่ไหลลงสู่เวียดนามและเปลี่ยนชื่อเป็นแม่น้ำแดง
  • แม่น้ำเหมี่ยน - แม่น้ำปาปู้ (沔江-八布河; Miện River): แม่น้ำระหว่างประเทศที่ไหลลงสู่เวียดนามและเปลี่ยนชื่อเป็นแม่น้ำเหมี่ยน
  • แม่น้ำญอเกว๊ (普梅河 หรือ 南利河; แม่น้ำผู่เหมย์ หรือแม่น้ำหนานลี่): แม่น้ำระหว่างประเทศที่ไหลลงสู่เวียดนามและเปลี่ยนชื่อเป็นแม่น้ำญอเกว๊
แม่น้ำดำ-แม่น้ำหลี่เซียน (沱江-李仙江)

แม่น้ำระหว่างประเทศที่ไหลลงสู่เวียดนามและเปลี่ยนชื่อเป็น แม่น้ำดำ (Sông Đà)

  • แม่น้ำหนั่มนา-แม่น้ำหวาย (南那河-藤条江):แม่น้ำระหว่างประเทศที่ไหลลงสู่เวียดนามและเปลี่ยนชื่อเป็นแม่น้ำหนั่มนา
  • แม่น้ำอาโม่ (阿墨江)
แม่น้ำหนานซี (南溪河)
แม่น้ำเขียว (绿汁江)
แม่น้ำเป่ย์หลุน (北仑河) หรือ แม่น้ำกาล็อง (Sông Ka Long) 98[4] 1,187 (เฉพาะในประเทศจีน 830)[4]
แม่น้ำชิน (钦江) 195[4] 2,391[4]
แม่น้ำหนานหลิว (南流江) แม่น้ำอู่ลี่ (武利江) 287[5] 9,704[5]
แม่น้ำจิ่วโจว (九洲江) 162 3,337
แม่น้ำหนานตู้ (南渡河) 88[4] 1,444[4]
แม่น้ำเจี้ยน (鉴江) 231[6] 9,464[6]
แม่น้ำโม่หยาง (漠阳江) 200 6,090
แม่น้ำถัน (潭江) 248 5,068
แม่น้ำจู

(珠江)

แม่น้ำตง (东江)
  • น้ำสุนอู หรือแม่น้ำสุนอู (寻乌水): ในเจียงซี
  • น้ำติ้งหนาน หรือแม่น้ำติ้งหนาน (定南水): ในเจียงซี
2,400 453,700[7] แม่น้ำจูนับเป็นแม่น้ำยาวเป็นอันดับ 3 ของประเทศจีน มีความยาว 2,400 กิโลเมตร (1,500 ไมล์) และเป็นแม่น้ำที่มีปริมาณน้ำมากเป็นอันดับสอง

บางส่วนของแม่น้ำสาขาของแม่น้ำจู คือแม่น้ำจั่ว (左江; Zuo River) มีต้นน้ำในทางตอนเหนือของประเทศเวียดนาม ไหลผ่านจังหวัดกาวบั่งและจังหวัดหลั่งเซิน เข้าสู่ประเทศจีน

แม่น้ำเป่ย์ (北江)
  • น้ำเจิน หรือ แม่น้ำเจิน (浈水): ในเจียงซี
แม่น้ำซี (西江)
  • แม่น้ำเฮ่อ (贺江)
  • แม่น้ำกุ้ย (桂江)
  • แม่น้ำสุน (浔江)
    • แม่น้ำยฺวี่ (郁江)
      • แม่น้ำจั่ว (左江)
      • แม่น้ำโย่ว (右江)
    • แม่น้ำเฉียน (黔江)
      • แม่น้ำหลิ่ว (柳江)
      • แม่น้ำหงสุ่ย (红水河)
        • แม่น้ำเป่ย์ผาน (北盘江)
        • แม่น้ำหนานผาน (南盘江)
แม่น้ำเชินเจิ้น (深圳河) 37 312.5 เป็นพรมแดนธรรมชาติระหว่างฮ่องกงและจีนแผ่นดินใหญ่ ร่วมกับแม่น้ำชาโถวเจี่ยว (Sha Tau Kok River), อ่าวเมิร์ส (Mirs Bay) และอ่าวลึก (Deep Bay)
แม่น้ำหวงเจียง (黄江) 67[8] 1,359[8]
แม่น้ำหลัว (螺河) 102 1,356
แม่น้ำหลง (龙江) 26.78 635.64
แม่น้ำเลี่ยน (练江) 40 839
แม่น้ำหรง (榕江) 196[4] 4,650[4]
แม่น้ำหาน (韩江) แม่น้ำเหมย์ (梅江) 470[9] 30,112[9] เป็นแม่น้ำที่ยาวที่สุดเป็นอันดับสองในมณฑลกวางตุ้ง รองจากแม่น้ำจู และเป็นแม่น้ำสายเดียวที่มีพื้นที่ลุ่มน้ำหลักและปากแม่น้ำทั้งหมดไหลลงสู่ทะเลอยู่ภายในมณฑลกวางตุ้ง ผ่านเมืองเหมย์โจว แต้จิ๋ว และซัวเถา
แม่น้ำทิง (汀江)
แม่น้ำหวงกัง (黄冈河 ) 87.2[10] 1,621 อยู่ในอำเภอเหราผิง เมืองเฉาโจว มณฑลกวางตุ้ง เป็นแม่น้ำที่ใหญ่ที่สุดในอำเภอนี้ และเป็นระบบลำน้ำที่ใหญ่เป็นอันดับสองในภูมิภาคเฉาช่าน
ลำน้ำตง (东溪 หรือ 诏安东溪) 110 1,293.64 อำเภอเจ้าอาน จางโจว มณฑลฝูเจี้ยน
ช่องแคบไต้หวัน แม่น้ำจิ่วหลง (九龙江) ลำน้ำซี (西溪) 258[11] 14,700[11] แม่น้ำที่ใหญ่เป็นอันดับสองในฝูเจี้ยน ประเทศจีน
ลำน้ำฮั่ว (藿溪)
  • ห้วยหม่านจู๋ (满竹溪)
  • ห้วยหมาหลิน (麻林溪)
  • ห้วยน้อย (小溪)
แม่น้ำหลงชวน (龙川)
  • แม่น้ำย่านฉือ (雁石溪)
แม่น้ำจิ้น (晋江) 404.8[12] 5,629[13] อยู่ในเฉวียนโจว มณฑลฝูเจี้ยน
ลำน้ำมู่หลาน (木兰溪) 168 1,732
ลำน้ำชิวหลู (萩芦溪) 60 709
ทะเลจีนตะวันออก แม่น้ำหมิ่น (闽江) ลำน้ำโหยว (尤溪) 577 60,992
ลำน้ำเจี้ยน (建溪)
ลำน้ำชา (沙溪)
ลำน้ำฟู่ถุน (富屯溪)
แม่น้ำอ๋าว (敖江) 137 2,665
แม่น้ำเฟย์ยฺหวิน (飞云江) 176 3,731
แม่น้ำโอว (瓯江) 388 18,028
แม่น้ำหลิง (灵江) 141.3 2704
แม่น้ำเสี่ยวเจีย (小浃江) 28.4[14]
แม่น้ำหย่ง (甬江) 25.6[15] 4572[15] อยู่ในหนิงปัว มณฑลเจ้อเจียง
แม่น้ำเฉียนถัง (钱塘江) แม่น้ำเฉาเอ๋อ (曹娥江) 688 55,600 ไหลสู่ทะเลจีนตะวันออก โดยผ่านอ่าวหางโจว ที่เมืองหางโจว เป็นแม่น้ำที่เกิดปรากฏการณ์คลื่นทะเลหนุนที่ใหญ่ที่สุดของโลก
แม่น้ำฟู่ชุน (富春江)
  • แม่น้ำ (新安江
  • แม่น้ำ (兰江
แม่น้ำผู่หยาง (浦阳江)
แม่น้ำหลานเจียง-ฉฺหวีเจียง (兰江-衢江) แม่น้ำ (金華江
แม่น้ำเลี่ยนเจียง (练江)
ห้วยเฉา (苕溪) 15
แม่น้ำแยงซี (长江) แม่น้ำหวงผู่ (黄浦江) 6,300 1,808,500
แม่น้ำฉู (滁河)
แม่น้ำฉุ่ยหยาง (水阳江)
แม่น้ำชิงอี้ (青弋江)
แม่น้ำยฺวี่ซี (裕溪河) ทะเลสาบเฉา (巢湖)
ทะเลสาบผัวหยาง (鄱阳湖) แม่น้ำปั๋วหยาง (博阳河)
น้ำซิว หรือแม่น้ำซิว (修水)
  • แม่น้ำเหล่า (潦河)
    • แม่น้ำเหล่าเหนือ (北潦河)
  • แม่น้ำอู่หนิง (武宁水)
  • แม่น้ำ (东津水)
แม่น้ำกั้น (赣江)
  • แม่น้ำจิ่น (锦江)
  • น้ำหยวน (袁水)
  • แม่น้ำเอิน (恩江)
  • น้ำเหอ (禾水)
    • แม่น้ำหลู (泸水)
    • แม่น้ำหนิวโห่ว หรือ น้ำยง (牛吼河 หรือ 灉水)
  • แม่น้ำหลง หรือ แม่น้ำกู (泷江 หรือ孤江)
  • แม่น้ำจูหลิน (珠林江)
  • น้ำฉู่ (蜀水)
  • แม่น้ำ (遂川江
  • แม่น้ำจาว (章水)
    • แม่น้ำช่างโหยว (上犹江)
      • แม่น้ำหลงหฺวา (龙华河)
  • น้ำก้ง หรือ แม่น้ำฮุ่ยชาง (贡水 หรือ 会昌江)
    • แม่น้ำเถา (桃江)
    • แม่น้ำผิง (平江)
    • แม่น้ำเหมย์ (梅江)
      • แม่น้ำฉิน (琴江)
    • แม่น้ำเหลียน (濂江)
    • น้ำเซียง (湘水)
    • น้ำเหมียน (绵水)
แม่น้ำซี (西河)
แม่น้ำผัว หรือ แม่น้ำเหรา (鄱江 หรือ 饶河)
  • แม่น้ำชาง (昌江)
  • แม่น้ำเล่ออาน (乐安江)
แม่น้ำ (信江
  • แม่น้ำไป่ถ่า (白塔河)
  • แม่น้ำเชียนชาน (铅山河)
  • แม่น้ำหลูซี (泸溪河)
  • ลำน้ำเฟิง (丰溪)
    • ห้วยฉืออู่โตว (十五都港)
    • ห้วยถังหลิ่ง (棠嶺港)
  • ลำน้ำจินชา (金沙溪)
  • แม่น้ำหูฟาง (湖坊河)
  • ลำน้ำเก๋อ (葛溪)
  • แม่น้ำลัวถัง (罗塘河)
แม่น้ำ (抚河(盱江)
  • แม่น้ำอี๋หวง (宜黄水)
    • แม่น้ำฉงเหริน (崇仁河)
  • แม่น้ำหลีทาน (黎滩河)
แม่น้ำฟู่ (富水) แม่น้ำหลงกั่ง (龙港河
แม่น้ำฮั่น (汉水) แม่น้ำหยุน (涢水)
แม่น้ำ (洞庭湖 แม่น้ำมี่ลัว (汨罗江)
แม่น้ำเซียง (湘江)
  • แม่น้ำไห่หยาง (海洋河)
แม่น้ำจือ (资水)
แม่น้ำหยวน (沅水)
แม่น้ำหลี่ (澧水)
แม่น้ำจู่จาง (沮漳河)
แม่น้ำชิง (清江)
แม่น้ำต้าหนิง (大宁河)
แม่น้ำอู (乌江) แม่น้ำฝูหรง (芙蓉江)
แม่น้ำหลิ่วชง (六冲河)
แม่น้ำ (嘉陵江 แม่น้ำ (涪江
แม่น้ำฉฺหวี (渠江)
  • แม่น้ำโจว (州河)
  • แม่น้ำต้าทง (大通江)
แม่น้ำ (西漢水
แม่น้ำชื่อ (赤水河)
แม่น้ำถัว (沱江)
แม่น้ำหมิน (岷江) แม่น้ำต้าตู้ (大渡河)
  • ชิงอี (青衣江)
  • แม่น้ำชั่วซือเจี่ย (綽斯甲河)
แม่น้ำจินชา (金沙江) แม่น้ำหย่งหนิง (永宁河)
แม่น้ำเหิง (横江)
แม่น้ำหนิวหลาน (牛栏江)
แม่น้ำผู่ตู้ (普渡河)
แม่น้ำหลงชฺวัน (龙川河)
แม่น้ำหย่าหลง (雅砻江)
  • แม่น้ำอันหนิง (安宁河)
  • แม่น้ำเซียนฉุ่ย (鮮水河)
แม่น้ำหยูเพ่า (渔泡江)
แม่น้ำฉุ่ยลั่ว (水洛河)
แม่น้ำติ้งปัว (定波河)
ลำน้ำจ๋า หรือ แม่น้ำปาถัง (札曲 หรือ 巴塘河)
แม่น้ำทงเทียน (通天河)
  • แม่น้ำฉู่หม่าเอ่อร์ (楚玛尔河)
  • ลำน้ำตัง (当曲)
    • ลำน้ำปู้ (布曲)
  • แม่น้ำถัวถัว (沱沱河)
ทะเลเหลือง (ตอนล่าง) แม่น้ำซินหยาง (新洋港)
แม่น้ำเช่อหยาง (射阳河)
แม่น้ำหวย (淮河) แม่น้ำ (濉河 แม่น้ำ (奎河
แม่น้ำ (新汴河
แม่น้ำ (懷洪新河) แม่น้ำถัวเหอ (沱河)
แม่น้ำฮุ่ย (浍河)
แม่น้ำฉือ (池河)
แม่น้ำวัว (涡河)
แม่น้ำซีเฝย์ (西淝河)
แม่น้ำตงเฝย์ (东淝河)
แม่น้ำหยิ่ง (颍河)
แม่น้ำพี่ (淠河)
แม่น้ำฉื่อกวั้น (史灌河) หรือ แม่น้ำฉื่อ (史河)
แม่น้ำไป่ลู่ (白露河)
แม่น้ำหง (洪河) แม่น้ำรู่ (汝河)
แม่น้ำ (灌河)
แม่น้ำอี๋สายใหม่ (新沂河) แม่น้ำชู่ (沭河)
แม่น้ำอี๋ (沂河)
ทะเลสาบเวย์ชาน (微山湖) น้ำซื่อ (泗水)
แม่น้ำตงยฺหวี (东鱼河)
แม่น้ำจูเจ้าสายใหม่ (洙赵新河)
คลองเหลียงจี้ (梁济运河)
แม่น้ำชู่สายใหม่ (新沭河)
แม่น้ำซิ่วเจิน (绣针河)
แม่น้ำฟู่ท่วน (傅疃河)
แม่น้ำเฉา (潮河)
แม่น้ำไป่หม่า-จี๋ลี่ (白马-吉利河)
แม่น้ำหวังเกอจวง (王戈庄河)
แม่น้ำจฺวี่หยาง (巨洋河)
แม่น้ำหยาง (洋河)
แม่น้ำกู (大沽河)
แม่น้ำโม่ฉุ่ย (墨水河)
แม่น้ำไป๋ชา (白沙河)
แม่น้ำจางชุน (张村河)
แม่น้ำตงอู่ (东五龙河)
แม่น้ำหรู่ชาน (乳山河)
แม่น้ำหวงเหล่ย์ (黄垒河)
แม่น้ำหมู่จู (母猪河)
แม่น้ำซินอาน (辛安河)
แม่น้ำต้ากูเจีย (大沽夹河)
ทะเลปั๋ว แม่น้ำหวงฉุ่ย (黄水河)
แม่น้ำเจี้ย (界河)
แม่น้ำหวัง (王河)
แม่น้ำเจียวไหล (胶莱河)
แม่น้ำเหวย์ (潍河)
แม่น้ำ ไป๋ล่าง (白浪河)
แม่น้ำหมี (弥河)
แม่น้ำเสี่ยวชิง (小清河)
แม่น้ำหวง (黄河) แม่น้ำต้าเวิ่น (大汶河(东平湖) 5,464 752,546
แม่น้ำชิ่น (沁河)
แม่น้ำอีลั่ว (伊洛河) แม่น้ำอี (伊河)
แม่น้ำลั่ว (洛河)
แม่น้ำเฝิน (汾河) แม่น้ำเซียว (潇河)
แม่น้ำซานชฺวาน (三川河)
แม่น้ำหยาน (延河)
แม่น้ำอู๋ติ้ง (无定河)
แม่น้ำคูเหย่ (窟野河)
แม่น้ำต้าเฮย์ (大黑河)
แม่น้ำเว่ย์ (渭河) แม่น้ำ (北洛河
แม่น้ำ (泾河
แม่น้ำ (灞河
  • แม่น้ำ (滻河
แม่น้ำ (石頭河
แม่น้ำ (麥李河
แม่น้ำขม (苦水河)
แม่น้ำชิงฉุ่ย (清水河)
แม่น้ำแม่น้ำหวงสุ่ย-ต้าทง (湟水-大通河)
แม่น้ำเถา (洮河)
แม่น้ำจู่ลี่ (祖厉河)
แม่น้ำจวงล่าง (庄浪河)
แม่น้ำหลงอู้ (隆务河)
แม่น้ำต้าเซี่ย (大夏河)
แม่น้ำดำ (黑河)
แม่น้ำขาว (白河)
แม่น้ำถูไห่ (徒駭河)
แม่น้ำหม่าเจี๋ย (马颊河)
แม่น้ำจางเว่ย์สายใหม่ (漳衛新河)
แม่น้ำซวนฮุ่ย (宣惠河)
คลองจี้ (蓟运河)
แม่น้ำไห่ (海河) แม่น้ำจึหยา (子牙河) แม่น้ำจงถิง (中亭河)
แม่น้ำต้าชิง (大清河)
  • แม่น้ำจู้หม่า (拒马河)
    • แม่น้ำหนานจู้หม่า (南拒马河)
      • แม่น้ำจงอี้ฉุ่ย (中易水河)
    • แม่น้ำเป่ย์จู้หม่า (北拒马河)
      • แม่น้ำไป๋โกว (白沟河)
      • แม่น้ำหลิวหลี (琉璃河)
  • แม่น้ำเจ้าหวัง (赵王河)
แม่น้ำฝู่หยาง (滏阳河)
แม่น้ำฮูถัว (滹沱河)
  • แม่น้ำหลงจื้อ (龙治河)
แม่น้ำจึหยาซิน (子牙新河)
คลองเหนือ (北运河) แม่น้ำหลงเฟิ่ง (龙凤河)
  • ลำน้ำเฟิ่งกั่งหยิ่น (凤港引渠)
  • แม่น้ำเฟิ่งกั่งเจี่ยน (凤港减河)
  • แม่น้ำหลง (龙河)
  • แม่น้ำเฟิ่ง (凤河)
    • แม่น้ำช่า (岔河)
    • แม่น้ำฮ่าน (旱河)
  • แม่น้ำกั่งโกว (港沟河)
แม่น้ำเหลียงฉุ่ย (凉水河)
  • แม่น้ำซินเฟิ่ง (新凤河)
แม่น้ำชาหยิ่น (沙尹沟)
แม่น้ำทงฮุ่ย (通惠河)
แม่น้ำเสี่ยวจง (小中河)
แม่น้ำเวินหยู (温榆河)
  • แม่น้ำหนานชา (南沙河)
  • แม่น้ำเป่ย์ชา (北沙河)
    • แม่น้ำซินเตี้ยน (辛店河)
  • แม่น้ำตงชา (东沙河)
แม่น้ำเฉาไป๋ (潮白河) (เดิมเป็นสาขาของคลองเหนือ ไหลลงสู่แม่น้ำแอร์โรว์กันในปี 1882 และปัจจุบันเชื่อมต่อกับคลองเหนือผ่านแม่น้ำซินเหอและแม่น้ำยฺหวินเฉาเจี้ยน ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็นแม่น้ำเฉาไป๋สายใหม่)
  • แม่น้ำเฉา (潮河)
  • แม่น้ำไป๋ (白河)
  • แม่น้ำเฉาไป๋สายใหม่ (潮白新河)
แม่น้ำหย่งติ้ง (永定河) แม่น้ำหยาง (洋河)
  • แม่น้ำชิงฉุ่ย (清水河)
  • แม่น้ำหนานหยาง (南洋河)
  • แม่น้ำซีหยาง (西洋河)
  • แม่น้ำตงหยาง (东洋河)
    • แม่น้ำเซ่อเอ่อร์จี (瑟尔基河)
    • แม่น้ำโฮ่ว (后河)
แม่น้ำ (桑干河
  • แม่น้ำ (壶流河
แม่น้ำหย่งติ้งสายใหม่ (永定新河)
  • แม่น้ำจงหง (สายเก่า) (中泓故道)
  • แม่น้ำเฉาไป๋สายใหม่ (潮白新河)
    • แม่น้ำชิงหลงวาน (青龙湾河)
  • แม่น้ำหลงเฟิ่ง (龙凤河)
  • แม่น้ำจินจง (金钟河)
    • แม่น้ำซินไค (新开河)
คลองใต้ (南运河) แม่น้ำเว่ย์ (卫河)
  • แม่น้ำจาง (漳河)
แม่น้ำหลวน (滦河) แม่น้ำซิ่งโจว (兴洲河)
แม่น้ำอีซุ่น (伊逊河)
แม่น้ำถู่ลี่เกิน (吐力根河)
แม่น้ำฮุ่ยเวิยเกาเลย์ (慧温高勒)
แม่น้ำฉ่านเตี่ยน (闪电河)
แม่น้ำจิ่วเจียง (九江河)
แม่น้ำฉือ (石河)
แม่น้ำลิ่วกู่ (六股河)
แม่น้ำหลิงน้อย (小凌河)
แม่น้ำหลิงใหญ่ (大凌河)
แม่น้ำเหลียว (辽河) แม่น้ำร่าวหยาง (绕阳河) 1,345 232,000 เป็นแม่น้ำสายหลักทางซีกใต้ของจีนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และเป็นหนึ่งในเจ็ดระบบแม่น้ำหลักในประเทศจีน เป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลายว่าเป็น "แม่น้ำแม่" ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของจีน ปริมาณการไหลของน้ำเฉลี่ยค่อนข้างต่ำเพียงประมาณ 500 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที (18,000 ลูกบาศ์กฟุต/วินาที) เพียงประมาณหนึ่งในยี่สิบของแม่น้ำจู จากปริมาณตะกอนสูงเกินที่รับได้เนื่องจากหลายส่วนของแม่น้ำไหลผ่านพื้นที่ดินลมหอบ (ดินเลิสส์)
แม่น้ำหลิ่ว (柳河)
แม่น้ำชิง (清河)
แม่น้ำตงเหลียว (东辽河)
แม่น้ำซีเหลียว (西辽河) แม่น้ำซินไค (新开河)
  • แม่น้ำอูเอ่อร์จี๋มู่หลุน (乌尔吉木伦河)
แม่น้ำซีลามู่หลุน (西拉木伦河)
แม่น้ำเจี้ยวไหล (教来河)
แม่น้ำเหล่าฮา (老哈河)
แม่น้ำต้าเหลียว (大辽河) แม่น้ำไท่จึ (太子河) แยกออกจากแม่น้ำเหลียวในปี 1958 จากโครงการวิศวกรรมชลประทานเพื่อแก้ไขปัญหาการควบคุมอุทกภัยในพื้นที่ชายฝั่งทะเลใกล้เมืองหยิงโข่ว โดยมีแม่น้ำหุนเข้าร่วมกับแม่น้ำไว่เหลียว และแม่น้ำไท่จื่อ ใกล้เมืองไห่เฉิง (ของเมืองอานชาน) แล้วรวมกันเป็นแม่น้ำต้าเหลียว ซึ่งไหลลงสู่อ่าวเหลียวตง การบรรจบกันของแม่น้ำสามสายนี้เรียกว่า แม่น้ำสามง่าม (三岔河)
แม่น้ำหุน (浑河)
แม่น้ำต้าชิง (大清河) 98.9 1473.46
แม่น้ำฟู่โจว (复州河) 137 1638
ทะเลเหลือง (ตอนบน) แม่น้ำปี้หลิว (碧流河) 156[16] 2814[16]
แม่น้ำต้าหยาง (大洋河) 179.7[16] 6168.52[16]
แม่น้ำยาลฺวี่ (鸭绿江) 790 แม่น้ำระหว่างประเทศ แม่น้ำชายแดนระหว่างจีนและเกาหลี
ทะเลญี่ปุ่น แม่น้ำตูเมน (图们江; 두만강) 521 33,800 แม่น้ำระหว่างประเทศ แม่น้ำชายแดนระหว่างจีนและเกาหลี
แม่น้ำสุยเฟิน / แม่น้ำรุซดอลนายา (绥芬河) แม่น้ำระหว่างประเทศปลายน้ำในรัสเซีย
ทะเลโอค็อตสค์ แม่น้ำอามูร์ (黑龙江) แม่น้ำอุสซูรี (乌苏里江) 2,824 1,855,000 แม่น้ำระหว่างประเทศ แม่น้ำชายแดนระหว่างจีนและรัสเซีย
แม่น้ำซงฮฺวา (松花江) แม่น้ำหมู่ตาน (牡丹江)
แม่น้ำฮูหลาน (呼兰河 )
แม่น้ำอาเฉิน (阿什河)
แม่น้ำลาหลิน (拉林河)
แม่น้ำเนิ่น (嫩江)
  • แม่น้ำฮั่วหลิน (霍林河)
  • แม่น้ำเถาเอ่อร์ (洮儿河 )
  • แม่น้ำเน่อโหมเอ้อร์ (讷谟尔河 )
  • แม่น้ำกาน (甘河)
แม่น้ำหยิ่นหม่า (饮马河)
  • แม่น้ำอีทง (伊通河)
แม่น้ำฮุยฟา (輝發河)
แม่น้ำฮูหม่า (呼瑪河)
แม่น้ำอาร์กุน (额尔古纳河) แม่น้ำไห่ลาเอ่อร์ (海拉尔河)
แม่น้ำเคอร์เลน (克魯倫河)


แอ่งมหาสมุทรอาร์กติก

[แก้]

ต่อไปนี้คือรายชื่อแม่น้ำสายสำคัญในด้านตะวันตกของจีน ไหลไปในทางทิศเหนือผ่านประเทศคาซัคสถานและรัสเซีย และไหลลงสู่ทะเลคาราของมหาสมุทรอาร์กติก

ทะเล แม่น้ำหลัก แม่น้ำสาขา แคว / แควสาขา ที่ตั้งและระบบแม่น้ำ ความยาว

(กิโลเมตร)

พื้นที่ลุ่มน้ำ(ตารางกิโลเมตร) หมายเหตุ
ทะเลคารา แม่น้ำอ็อบ (鄂畢河) แม่น้ำอีร์ติช (额尔齐斯河) 297.3 12,500 (เฉพาะพื้นที่ลุ่มน้ำในอาณาเขตประเทศจีน) เป็นแม่น้ำระหว่างประเทศที่ไหลลงสู่คาซัคสถานและรัสเซีย

แม่น้ำอ็อบมีความยาว 3,650 กิโลเมตร และครอบคลุมพื้นที่ลุ่มน้ำ 2,972,497 ตร.กม.

แอ่งมหาสมุทรอินเดีย

[แก้]

ต่อไปนี้คือรายชื่อแม่น้ำสายสำคัญในด้านตะวันตกของจีนและไหลลงสู่ทะเลต่าง ๆ ของมหาสมุทรอินเดีย เริ่มจากทะเลทางตะวันออกสู่ตะวันตก (เรียงจากทางฝั่งตะวันตกใกล้ไปไกลที่สุดจากประเทศไทย)

ทะเล แม่น้ำหลัก แม่น้ำสาขา แคว / แควสาขา ที่ตั้งและระบบแม่น้ำ ความยาว

(กิโลเมตร)

พื้นที่ลุ่มน้ำ(ตารางกิโลเมตร) หมายเหตุ
ทะเลอันดามัน แม่น้ำอิรวดี (伊洛瓦底江) น้ำมาว หรือ แม่น้ำชเวลี (瑞丽江)[17] แม่น้ำหนานหว่าน (南畹河): แม่น้ำเขตแดนจีน-พม่า 2,288[18] 404,200[19]
แม่น้ำต้าหยิง (太平江-大盈江)
แม่น้ำเมคะ (恩梅开江-独龙江)
แม่น้ำสาละวิน (萨尔温江-怒江) แม่น้ำหนานข่า (南卡江) แม่น้ำหนานหม่า (南马河 ) 2,800 29,500
แม่น้ำหนานกุ่น (南滾河)
แม่น้ำหนานติ้ง (南定河)
แม่น้ำเมืองบอก (勐波罗河)
ห้วยหยก (玉曲)
ห้วยเจ่ (姐曲)
ห้วยสั่ว (索曲)
ห้วยเซี่ยชิว (下秋曲)
อ่าวเบงกอล แม่น้ำคงคา (恆河) 2,525[20] 1,320,000[21]
แม่น้ำพรหมบุตร (布拉馬普特拉河-雅魯藏布江
ทะเลอาหรับ แม่น้ำสินธุ (印度河-獅泉河) แม่น้ำปัญจนัท (Panjnad River; 潘季納德河) แม่น้ำสตลุช (Sutlej River; 萨特莱杰河)
  • แม่น้ำสปิติ (司丕提河)
    • ลำน้ำปาเร (帕里曲)
3,180 1,165,000
什約克河-奇普恰普河
  • แม่น้ำไหลลงสู่ทะเลต่าง ๆ ของมหาสมุทรอินเดีย มีแม่น้ำสาขาจำนวนมากที่ไม่อยู่ในประเทศจีน ซึ่งไม่แสดงในตารางนี้

แอ่งรับน้ำภายในทวีป

[แก้]

ต่อไปนี้คือรายชื่อแม่น้ำสายสำคัญในด้านตะวันตกของจีนและไหลลงสู่ภายในทวีป โดยเฉพาะในเขตแอ่งทาริม

แอ่ง แม่น้ำหลัก แม่น้ำสาขา แคว / แควสาขา ที่ตั้งและระบบแม่น้ำ ความยาว

(กิโลเมตร)

พื้นที่ลุ่มน้ำ(ตารางกิโลเมตร) หมายเหตุ
แอ่งทาริม แม่น้ำอีหลี (伊犁河) 霍尔果斯河 1,439 140,000
喀什河
鞏乃斯河
特克斯河
แม่น้ำทาริม (塔里木河) 孔雀河 开都河 1,321 1,020,000
渭干河
和田河
阿克苏河
叶尔羌河 克勒青河
  • 克里滿河
喀什喀尔河
แอ่งทะเลทรายโกบี แม่น้ำเอจิน (额济纳河) หรือ แม่น้ำรั่ว (弱水) 630 78,600
ที่ราบสูงทิเบต แม่น้ำชูเล (疏勒河) แม่น้ำ (黨河 770 102,300
ทะเลทรายเออบันทุงกุต แม่น้ำมานาส (玛纳斯河) 450 ไหลลงทะเลสานมานาส
แม่น้ำอูลุนกูร์ (乌伦古河; Ulungur River)
ที่ราบสูงทิเบต (แอ่งไจดาม) แม่น้ำโกลมุด (格尔木河; Golmud River) 18,648

แอ่งมหาสมุทรแปซิฟิก (ระบบแม่น้ำบนเกาะที่สำคัญ)

[แก้]

รายชื่อต่อไปนี้คือแม่น้ำสายสำคัญในเกาะไห่หนานและเกาะไต้หวันของจีน ที่ไหลลงสู่อ่าวตังเกี๋ย, ทะเลจีนใต้, ช่องแคบไต้หวัน และทะเลฟิลิปปิน ของมหาสมุทรแปซิฟิกตามลำดับ ซึ่งแยกต่างหากจากระบบพื้นที่ลุ่มน้ำบนภาคพื้นทวีปของจีน (จีนแผ่นดินใหญ่) แบ่งตามกลุ่มเกาะ

ทะเล แม่น้ำหลัก แม่น้ำสาขา แคว / แควสาขา ที่ตั้งและระบบแม่น้ำ ความยาว

(กิโลเมตร)

พื้นที่ลุ่มน้ำ(ตารางกิโลเมตร) หมายเหตุ
เกาะไห่หนาน
อ่าวตังเกี๋ย แม่น้ำหนานตู้ (南渡江) 333.8[22] 7,033
แม่น้ำเหวินหลาน (文澜江) 86.5 776.78
แม่น้ำเป่ย์เหมิน (北门江) 62.2 648
แม่น้ำชุน (春江) 55.7[22] 557.76
แม่น้ำจูปี้ (珠碧江) 83.8 956.75
แม่น้ำชางฮฺว่า (昌化江) 232 5,150
แม่น้ำก่านเอิน (感恩河) 54.5 381
แม่น้ำวั่งโหลว (望楼河) 99.1[22] 827.3
ทะเลจีนใต้ แม่น้ำหนิงหยวน (宁远河) 83.5 1,020
แม่น้ำซานย่า (三亚河 )
แม่น้ำเถิงเฉียว (藤桥河) 56.1[22] 709.45
แม่น้ำหลิงฉุ่ย (陵水河) 73.5[22] 1,131
แม่น้ำไท่หยาง (太阳河) 75.7[22] 592.51
แม่น้ำว่านฉวน (万泉河) 162 3,693
แม่น้ำเป่าหลิง (宝陵河) 29.3[23] 156[23]
แม่น้ำหนานหยาง (南洋河) 59.5[24] 2,936[24]
เกาะไต้หวัน (เฉพาะที่มีความยาวเกิน 50 กิโลเมตร)
ช่องแคบไต้หวัน แม่น้ำต้านฉุ่ย (淡水河; Tamsui River) แม่น้ำจีหลง (基隆河) 158.7 2,726
แม่น้ำซินเตี้ยน (新店溪)
แม่น้ำต้าฮั่น (大汉溪)
แม่น้ำหนานคั่น (南崁溪) 30.73 214.67 ในนครเถา-ยฺเหวียน
แม่น้ำเฟื่งชาน (凤山溪) 45[25][26] 250.1 ในเทศมณฑลซินจู๋
แม่น้ำโถวเฉียน (头前溪) 63.03[25][27] 565.94
แม่น้ำโฮ่วหลง (后龙溪) 53.8[25][28] 536.59 ในเทศมณฑลเหมียวลี่
แม่น้ำต้าอาน (大安溪) 105[29][30] 758.47
แม่น้ำต้าจ่า (大甲溪) 142[31] 1,235.73
แม่น้ำต้าตู้ (大肚溪) 124 2,025.6 นครไถจง
แม่น้ำจั๋วฉุ่ย (浊水溪) ลำน้ำเฉินโหย่วหลาน (陈有兰溪) 203[32] 3,155.21 แม่น้ำที่ยาวที่สุดในไต้หวัน[25]
ลำน้ำฉุ่ยหลี่ (水里溪)
ลำน้ำว่านต้า (万大溪)
ลำน้ำว่านต้า (卡社溪)
แม่น้ำเป่ย์กั่ง (北港溪) ลำน้ำต้าหูโข่ว (大湖口溪) 82[25][33] 645.21
ลำน้ำซานเตี๋ย (三疊溪)
แม่น้ำเจิ่งเหวิน (曾文溪) 146 1,176.64
แม่น้ำเกาผิง (高屏溪) ลำน้ำฉีชาน (旗山溪) 183[34] 3,257
ลำน้ำอ้ายเหลียว (隘寮溪)
ลำน้ำอู่ลั่ว (武洛溪)
ลำน้ำเหล่าหนง (荖浓溪) ลำน้ำจั๋วโข่ว (浊口溪)
แม่น้ำเพย์หนาน (卑南溪) 84.35[35][25] 1,603.21
ทะเลฟิลิปปิน แม่น้ำซิ่วกูหลวน (秀姑峦溪) ลำน้ำฟู่หยวน (富源溪) 104 1,790.46
ลำน้ำเฟิงผิง (丰坪溪)
ลำน้ำลาคู่ลาคู่ (拉庫拉庫溪
แม่น้ำฮฺวาเหลียน (花莲溪) 57[25][36][37] 1,507.09
แม่น้ำหลานหยาง (兰阳溪) แม่น้ำอี้หลาน (宜兰河) 73 978
ห้วยชิงฉุ่ย (清水溪)
ห้วยหลัวตง (罗东溪 )

แม่น้ำที่มนุษย์สร้าง (คลองขุด)

[แก้]
แม่น้ำ / คลอง ที่ตั้งและระบบแม่น้ำ ความยาว

(กิโลเมตร)

หมายเหตุ
คลองใหญ่ (京杭运河) 1,794 ความยาวนี้เฉพาะคลองจากปักกิ่งถึงหางโจว
คลองหลิง (灵渠) ระหว่างที่ราบลุ่มแม่น้ำจูและที่ราบลุ่มแม่น้ำแยงซี
คลองชลประทานซูเป่ย์ (苏北灌溉总渠) 168
แม่น้ำเจียวไหล (胶莱河) 130
คลองอีร์ติช-คาราไม-อุรุมชี (引额济克(乌)工程; Irtysh–Karamay–Ürümqi Canal)[38] 134

ลำดับพื้นที่ลุ่มน้ำ

[แก้]

รายชื่อแม่น้ำในประเทศจีนเรียงลำดับตามขนาดของพื้นที่ลุ่มน้ำ จากใหญ่ที่สุดไปหาน้อย 20 อันดับแรก ดังนี้

ลำดับ ชื่อแม่น้ำ ชื่อภาษาจีน ชื่อภาษาอังกฤษ พื้นที่ลุ่มน้ำ(ตารางกิโลเมตร) หมายเหตุ
1 แม่น้ำแยงซี 长江 Chang 1,808,500 คิดเป็นร้อยละ 18.8 ของพื้นที่ของประเทศจีน
2 แม่น้ำทาริม 塔里木河(内流河)(包括塔里木九河) Tarim 996,000 เฉพาะพื้นที่ลุ่มน้ำในอาณาเขตประเทศจีน
3 แม่น้ำอามูร์ 黑龙江 Heilong 889,100 เฉพาะพื้นที่ลุ่มน้ำในอาณาเขตประเทศจีน
4 แม่น้ำหวง 黄河 Huang 752,400
5 แม่น้ำจู 珠江 Zhu 442,100 เฉพาะพื้นที่ลุ่มน้ำในอาณาเขตประเทศจีน
6 แม่น้ำพรหมบุตร (แม่น้ำยาร์ลุงจังโป) 雅鲁藏布江(包括恒河各源) Yarlung Tsangpo 321,300 เฉพาะพื้นที่ลุ่มน้ำในอาณาเขตประเทศจีน
7 แม่น้ำไห่ 海河 Hai 263,600
8 แม่น้ำเหลียว 辽河 Liao 219,600 รวมถึงแม่น้ำหุนและแม่น้ำไท่จึ
9 แม่น้ำหวย 淮河 Huai 187,000
10 แม่น้ำโขง 澜沧江 (湄公河) Lancang (Mekong) 164,800 เฉพาะพื้นที่ลุ่มน้ำในอาณาเขตประเทศจีน
11 แม่น้ำรั่ว 弱水(内流河) Ruo 142,900
12 แม่น้ำสาละวิน (แม่น้ำนู่) 怒江 Nu 124,800 เฉพาะพื้นที่ลุ่มน้ำในอาณาเขตประเทศจีน
13 แม่น้ำชูเล 疏勒河(内流河) Shule 102,300 แม่น้ำภายในทวีปที่ไหลลงในระบบพื้นที่ลุ่มน้ำแบบปิด
14 ระบบแม่น้ำอี๋-ชู่-ซื่อ 沂沭泗河 หรือ 沂沭泗水系 Yi-Shu-Si 87,700 ตั้งอยู่ระหว่างแม่น้ำแยงซีและแม่น้ำเหลือง เป็นระบบน้ำที่ค่อนข้างอิสระ ซึ่งตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของลุ่มแม่น้ำหวย
15 แม่น้ำสินธุ 印度河(包括狮泉河、象泉河) Indus 85,800 เฉพาะพื้นที่ลุ่มน้ำในอาณาเขตประเทศจีน
16 แม่น้ำแดง 元江 Yuan (Red) 76,300 เฉพาะพื้นที่ลุ่มน้ำในอาณาเขตประเทศจีน
17 แม่น้ำหมิ่น 闽江 Min 61,000
18 แม่น้ำอีร์ติช 额尔齐斯河 Irtysh 57,300 เฉพาะพื้นที่ลุ่มน้ำในอาณาเขตประเทศจีน
19 แม่น้ำเฉียนถัง 钱塘江 Qiantang 55,600
20 แม่น้ำอีหลี 伊犁河(内流河) Ili 55,300 เฉพาะพื้นที่ลุ่มน้ำในอาณาเขตประเทศจีน

เป็นแม่น้ำภายในทวีปที่ไหลลงในระบบพื้นที่ลุ่มน้ำแบบปิด

อ้างอิง

[แก้]
  1. 第一次全国普查公报 เก็บถาวร พฤษภาคม 15, 2013 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน,2013年5月22日查阅
  2. 2.0 2.1 Zhang, Hongming; 张洪明 (1998). "CHINESE ETYMA FOR RIVER / 汉语河流词源考". Journal of Chinese Linguistics. 26 (1): 1–47. ISSN 0091-3723.
  3. 3.0 3.1 Dimple Roy, Jane Barr, and Henry David Venema. Ecosystem Approaches in Integrated Water Resources Management (IWRM). International Institute for Sustainable Development (IISD), August 2011.
  4. 4.0 4.1 4.2 4.3 4.4 4.5 4.6 4.7 《中国河湖大典》编纂委员会 (2013年1月). 《中国河湖大典·珠江卷》. 北京: 中国水利水电出版社. ISBN 978-7-5170-0561-2. {{cite book}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |year= (help)
  5. 5.0 5.1 张家桢,陈传友,蔡锦山 (1990). "充分利用南流江水资源, 确保北海市供水" (PDF). 自然资源. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ December 3, 2014. สืบค้นเมื่อ 2010-09-27.
  6. 6.0 6.1 "印发广东省鉴江流域水资源分配方案的通知". www.gd.gov.cn. สืบค้นเมื่อ 2019-09-20.
  7. "珠江概况". 珠江水利网. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-01-22. สืบค้นเมื่อ 2011-03-29.
  8. 8.0 8.1 "《粤东沿海诸河:黃江》,廣東省情網". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ March 4, 2016. สืบค้นเมื่อ 2015-08-08.
  9. 9.0 9.1 ""韩江"考辨". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ March 5, 2016. สืบค้นเมื่อ 2011-01-29.
  10. "潮州水利局相关资料". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ March 8, 2016. สืบค้นเมื่อ 2022-03-14.
  11. 11.0 11.1 中國國家地理》,2009年4月刊(福建專輯 上輯),福建港口 - 曾經的中國海上零公里 - 月港 - 一個政策性港口的興衰,頁88-93.
  12. "资源" (ภาษาจีนตัวย่อ). 泉州市人民政府公众信息网. August 27, 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ March 31, 2022. สืบค้นเมื่อ 2008-10-22.{{cite web}}: CS1 maint: bot: original URL status unknown (ลิงก์)
  13. "水资源保护:福建泉州推行"上下游补偿机制"". 经济参考报 (ภาษาจีนตัวย่อ). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ July 5, 2017. สืบค้นเมื่อ 2008-10-22.
  14. "北仑地方志-水系". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ July 7, 2011. สืบค้นเมื่อ 2010-05-23.
  15. 15.0 15.1 "第二章 水系". 宁波市水利志. 中华书局. March 2006. ISBN 7-101-05045-X.
  16. 16.0 16.1 16.2 16.3 Zhongguo he hu da dian. "Zhongguo he hu da dian" bian zuan wei yuan hui, 《中国河湖大典》编纂委员会. (Di 1 ban ed.). Beijing Shi: Zhongguo shui li shui dian chu ban she. 2010–2014. ISBN 978-7-5170-2847-5. OCLC 611872919.{{cite book}}: CS1 maint: date format (ลิงก์) CS1 maint: others (ลิงก์)
  17. "ไทมาว คือต้นทางไทใหญ่".
  18. Fei, Yu (August 22, 2011). "中国科学家确定雅鲁藏布江等四条国际河流源头" [Chinese Scientists Verify Source of Four International Rivers, Including Yarlung Tsangpo]. Xinhua News Agency (ภาษาจีน). สืบค้นเมื่อ 2021-03-05.
  19. Khon Ra, Director, Hydrology Branch, Irrigation Department (21 September 2011). "Water Quality Management at River Basin in Myanmar" (PDF). Water Environment Partnership in Asia (WEPA) (ภาษาอังกฤษ). The Republic of the Union of Myanmar Ministry of Agriculture and Irrigation. p. 2. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 16 August 2016. สืบค้นเมื่อ 26 March 2017. Catchment Area (000's sq-km) Chindwin River 115.30 Upper Ayeyarwady River 193.30 Lower Ayeyarwady River 95.60{{cite web}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  20. Jain, Agarwal & Singh 2007.
  21. Suvedī 2005.
  22. 22.0 22.1 22.2 22.3 22.4 22.5 《中国河湖大典》编纂委员会. 《中国河湖大典·珠江卷》. 北京: 中国水利水电出版社. 2013年1月: 458页. ISBN 978-7-5170-0561-2
  23. 23.0 23.1 "第四节 其它中小河流" (ภาษาChinese (China)). 海南史志网. August 19, 2009. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ August 10, 2015. สืบค้นเมื่อ 2013-04-29.
  24. 24.0 24.1 Zhongguo he hu da dian. "Zhongguo he hu da dian" bian zuan wei yuan hui, 《中国河湖大典》编纂委员会. (Di 1 ban ed.). Beijing Shi: Zhongguo shui li shui dian chu ban she. 2010–2014. ISBN 978-7-5170-2847-5. OCLC 611872919.{{cite book}}: CS1 maint: date format (ลิงก์) CS1 maint: others (ลิงก์)
  25. 25.0 25.1 25.2 25.3 25.4 25.5 25.6 "Geography & demographics". The Republic of China Yearbook 2015. Executive Yuan. 2015. pp. 40–53. ISBN 978-986-04-6013-1. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ May 31, 2016. สืบค้นเมื่อ 2016-05-01.
  26. "Fengshan River" (ภาษาจีน). Water Resources Agency, Ministry of Economic Affairs. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 April 2016. สืบค้นเมื่อ 1 May 2016.
  27. "Touqian River" (ภาษาจีน). Water Resources Agency, Ministry of Economic Affairs. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ October 18, 2016. สืบค้นเมื่อ 1 May 2016.
  28. "Houlong River" (ภาษาจีน). Water Resources Agency, Ministry of Economic Affairs. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 April 2016. สืบค้นเมื่อ 1 May 2016.
  29. "GeoNames Search". Geographic Names Database. National Geospatial-Intelligence Agency, USA. สืบค้นเมื่อ 10 June 2016.
  30. "Da'an River" (ภาษาจีน). Water Resources Agency, Ministry of Economic Affairs. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 29 October 2015. สืบค้นเมื่อ 10 June 2016.
  31. Philip Diller. "Taiwan Rivers and Watersheds". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ December 14, 2007. สืบค้นเมื่อ 2007-11-30.
  32. 讓我們看河去(重要河川)-- 濁水溪 (ภาษาจีน). Water Resources Agency, Ministry of Economic Affairs (Republic of China). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ December 24, 2013. สืบค้นเมื่อ February 4, 2011.
  33. "Beigang River" (ภาษาจีน). Water Resources Agency, Ministry of Economic Affairs. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ March 9, 2016. สืบค้นเมื่อ 9 September 2016.
  34. "98年高屏溪流域管理工作執行年報" (PDF) (in Chinese (Taiwan)). Gaoping River Basin Management Committee. October 2010. Retrieved 12 June 2016.
  35. "Beinan River" (ภาษาจีน). Water Resources Agency, Ministry of Economic Affairs. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 18 January 2005. สืบค้นเมื่อ 1 April 2016.
  36. "Hualien River" (ภาษาจีน). Water Resources Agency, Ministry of Economic Affairs. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 April 2016. สืบค้นเมื่อ 1 May 2016.
  37. "Hualien River basin". River System Introduction (ภาษาจีน). The Ninth River Management Office, Water Resources Agency, Ministry of Economic Affairs. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 March 2016. สืบค้นเมื่อ 6 May 2016.
  38. Sievers, Eric W. (2002), "Transboundary Jurisdiction and Watercourse Law: China, Kazakhstan and the Irtysh" (PDF), Texas International Law Journal, 37 (1), คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ September 21, 2013, สืบค้นเมื่อ 2013-09-19