รายชื่อพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิกที่ถูกถอนชื่อ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ไต้ฝุ่นแมมี ขณะกำลังมีความรุนแรงสูงสุด

รายชื่อพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิกที่ถูกถอนชื่อทั้งหมด ซึ่งชื่อเหล่านี้ถูกถอนโดยกรมอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น (JMA) นับตั้งแต่ปีที่ประกาศใช้ชื่อสากลขององค์การอุตุนิยมวิทยาโลกในเดือนมกราคม พ.ศ. 2543 จนถึงปัจจุบันมีชื่อของพายุหมุนเขตร้อนถูกปลดไปแล้วทั้งสิ้น 54 ชื่อ ชื่อของพายุหมุนเขตร้อนจะถูกถอนโดยคณะกรรมการไต้ฝุ่นขององค์การอุตุนิยมวิทยาโลก ในการประชุมประจำปีช่วงต้นปี ชื่อพายุส่วนมากที่ถูกถอนมักเป็นพายุที่สร้างความเสียหาย และอีกส่วนเป็นชื่อที่ถูกถอนด้วยเหตุผลอื่น ๆ นอกเหนือจากการสร้างความเสียหาย โดยรวมแล้วพายุที่ถูกถอนชื่อทุกลูกสร้างความเสียหายรวมกันกว่า 1.08 แสนล้านดอลลาร์สหรัฐ (ค่าเงิน ค.ศ. 2024) หรือประมาณ 3.43 ล้านล้านบาท และมีผู้เสียชีวิตรวมกว่า 12,000 คน

ข้อมูลทั่วไป[แก้]

พายุโซยร้อนฮวาเหม่ย์ ขณะที่กำลังขึ้นฝั่งมาเลเซีย (2544)

ในปี พ.ศ. 2543 กรมอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น (Japan Meteorological Agency : JMA) ได้จัดทำรายชื่อพายุหมุนเขตร้อนสำหรับมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกตอนบน จำนวน 140 รายชื่อ จากประเทศสมาชิกองค์การไต้ฝุ่น 14 ประเทศ ก่อนหน้านั้นในช่วงปี พ.ศ. 2490 ถึง พ.ศ. 2543 ศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่น (Joint Typhoon Warning Center : JTWC) จะเป็นผู้กำหนดชื่ออย่างไม่เป็นทางการของพายุที่เกิดขึ้น[1] ในยุคนั้นมีการกำหนดและถอดถอนรายชื่อด้วยหน่วยงานอื่น[2] สำนักงานบริหารบรรยากาศ ธรณีฟิสิกส์ และดาราศาสตร์แห่งฟิลิปปินส์ (PAGASA) มีการกำหนดรายชื่อที่ใช้ต่างจากรายชื่อสากล ซึ่งจะมีการเปลี่ยนแปลงรายชื่อเป็นระยะ[3]

นอกจากเหตุผลด้านอนุภาพทำลายล้างแล้วยังมีชื่ออื่นที่ถูกปลดด้วยเหตุผลอื่น คือ เมื่อปี พ.ศ. 2545 ชื่อ "หนุมาน" (Hanuman) ถูกปลดจากการคัดค้านของกรมอุตุนิยมวิทยาแห่งอินเดีย ด้วยเหตุผลด้านศาสนา[4] นอกจากนี้ชื่อ "โกโด" (Kodo) ที่ถูกนำมาแทนที่ในปี พ.ศ. 2545 ก็ไม่ได้มีการนำมาใช้[5] ในปี พ.ศ. 2547 ชื่อ "ยันยัน" (Yanyan) และ "เถ่งเถง" (Tingting) ก็ถูกถอดออกตามคำขอของหอสังเกตการณ์ฮ่องกง[5][6] ทั้งหมดรวมเป็น 9 รายชื่อในรายการที่มีการเปลี่ยนแปลงการสะกดคำ[5] ในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557 ชื่อ "โซนามุ" (Sonamu) ได้ถูกถอดออกตามคำร้องของประเทศมาเลเซีย เนื่องจากก่อให้เกิดความตื่นตระหนก เพราะออกเสียงคล้ายกับคำว่า สึนามิ[7] ในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558 ชื่อ ชงดารี ถูกตั้งขึ้นมาเพื่อแทนชื่อ โซนามุ ต่อมาในการประชุมเซสชั่นที่ 46 ของคณะกรรมการพายุไต้ฝุ่น มีการระบุข้อสังเกตว่าชื่อ บิเซนเต เป็นชื่อที่ปรากฏทั้งรายชื่อพายุหมุนเขตร้อนสำหรับมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ และมหาสมุทรแปซิฟิกด้านตะวันออกเฉียงเหนือ จึงมีการตั้งชื่อ แลง ขึ้นมาแทนบิเซนเตในรายชื่อพายุหมุนเขตร้อนสำหรับมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ เพื่อป้องกันและหลีกเลี่ยงความสับสนที่อาจจะเกิดขึ้น

เรียงตามความเสียหาย[แก้]

รายชื่อพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิกที่ถูกถอนชื่อเรียงตามลำดับความรุนแรงตามประเภท ได้แก่ ความรุนแรงของตัวพายุ มูลค่าความเสียหาย และจำนวนผู้เสียชีวิต โดยนับรวมเฉพาะชื่อพายุของคณะกรรมการไต้ฝุ่นตั้งแต่ปี พ.ศ. 2543 เป็นต้นมาเท่านั้น

เรียงตามปี[แก้]

ช่วงก่อนจนถึง พ.ศ. 2543[แก้]

ชื่อ ช่วงเวลา ระดับความรุนแรง ความเร็วลม (เฉลี่ย-1นาที) ความกดอากาศ พื้นที่ได้รับผลกระทบปฐมภูมิ ผู้เสียชีวิต ผลกระทบ อ้างอิง
ลูซิลล์ 25 พฤษภาคม – 4 มิถุนายน พ.ศ. 2503 พายุโซนร้อน 85 กม./ชม. (50 ไมล์/ชม.) 985 hPa (29.09 inHg) ฟิลิปปินส์ 300–500 &00000000020000000000002 ล้านดอลลาร์สหรัฐ [21][22][23][24][25]
โอฟีเลีย 21 พฤศจิกายน – 6 ธันวาคม พ.ศ. 2503 พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 4 250 กม./ชม. (155 ไมล์/ชม.) 925 hPa (27.32 inHg) หมู่เกาะแคโรไลน์ 2 ไม่ทราบ [26][27]
คาเร็น 7 – 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2505 พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 5 295 กม./ชม. (185 ไมล์/ชม.) 894 hPa (26.40 inHg) กวม 11 &0000000250000000000000250 ล้านดอลลาร์สหรัฐ [28]
เบสส์ 8 – 14 ตุลาคม พ.ศ. 2517 พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 120 กม./ชม. (75 ไมล์/ชม.) 977 hPa (28.85 inHg) ฟิลิปปินส์, จีน, เวียดนาม 32 &00000000092000000000009.2 ล้านดอลลาร์สหรัฐ [26][29][30]
เบสส์ 21 กรกฎาคม – 3 สิงหาคม พ.ศ. 2525 พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 5 260 กม./ชม. (160 ไมล์/ชม.) 900 hPa (26.58 inHg) ญี่ปุ่น 95 &00000023200000000000002.32 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ [31]
ไอค์ 26 สิงหาคม – 6 กันยายน พ.ศ. 2527 พายุไต้ฝุ่นระดับ 4 230 กม./ชม. (145 ไมล์/ชม.) 950 hPa (28.05 inHg) กวม, ฟิลิปปินส์, จีน 1,142 &00000010000000000000001 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
รอย 7 – 19 มกราคม พ.ศ. 2531 พายุไต้ฝุ่นระดับ 4 215 กม./ชม. (135 ไมล์/ชม.) 940 hPa (27.76 inHg) ไมโครนีเชีย, ฟิลิปปินส์ 2 &000000002850000000000028.5 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
ไมค์ 5 – 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2533 พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 5 280 กม./ชม. (175 ไมล์/ชม.) 915 hPa (27.02 inHg) ไมโครนีเชีย, ฟิลิปปินส์, จีน 748 &0000000220000000000000220 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
ไมเรลล์ 13 – 27 กันยายน พ.ศ. 2534 พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 4 240 กม./ชม. (150 ไมล์/ชม.) 925 hPa (27.32 inHg) หมู่เกาะมาเรียนา, ญี่ปุ่น, เกาหลีใต้ 66 &000001000000000000000010 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
เทลมา 1 – 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2534 พายุโซนร้อน 85 กม./ชม. (50 ไมล์/ชม.) 992 hPa (29.29 inHg) ฟิลิปปินส์, เวียดนาม 5,081–8,145 &000000002667000000000026.7 ล้านดอลลาร์สหรัฐ [32][33][34][35]
โอมาร์ 20 สิงหาคม – 6 กันยายน พ.ศ. 2535 พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 4 240 กม./ชม. (150 ไมล์/ชม.) 920 hPa (27.17 inHg) หมู่เกาะมาเรียนา, กวม, ไต้หวัน, จีน 2 &0000000457000000000000457 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
11 ชื่อ อ้างอิงสำหรับชื่อที่ถูกปลด[nb 1] 7481 &000001430370000000000014.3 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ

พุทธทศวรรษ 2543[แก้]

ฤดูกาล ชื่อ ชื่อใช้แทน วันที่พายุมีกำลัง ระดับความรุนแรง ความเร็วลม (เฉลี่ย-10นาที) ความกดอากาศ
พื้นที่ได้รับผลกระทบ ผู้เสียชีวิต ผลกระทบ อ้างอิง
2544 ฮวาเหม่ย์
(Vamei)
เผ่ยผ่า
(Peipah)
26 ธันวาคม 2544 – 1 มกราคม 2545 พายุโซนร้อน 85 กม./ชม. 1006 hPa สิงคโปร์, มาเลเซีย, อินโดนีเซีย 5 &00000000036000000000003.6 ล้านดอลลาร์สหรัฐ [nb 2][36]
2545 ชาทาอาน
(Chataan)
แมตโม
(Matmo)
27 มิถุนายน – 13 กรกฎาคม 2545 พายุไต้ฝุ่น 175 กม./ชม. 930 hPa ชุก, กวม, ญี่ปุ่น 54 &0000000660000000000000660 ล้านดอลลาร์สหรัฐ [37][38]
รูซา
(Rusa)
นูรี
(Nuri)
22 สิงหาคม – 4 กันยายน 2545 พายุไต้ฝุ่น 150 กม./ชม. 950 hPa ญี่ปุ่น, ไต้หวัน, คาบสมุทรเกาหลี 238 &00000042000000000000004.2 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ [39]
พงซ็อนฮวา
(Pongsona)
โนอึล
(Noul)
2 – 12 ธันวาคม 2545 พายุไต้ฝุ่น 165 กม./ชม. 940 hPa หมู่เกาะมาเรียนา 1 &0000000730000000000000730 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
2546 ยันยัน
(Yanyan)
ดอลฟิน
(Dolphin)
11 – 21 มกราคม 2546 พายุโซนร้อน 65 กม./ชม. 1000 hPa หมู่เกาะมาเรียนา ไม่มี ไม่มี
อิมบูโด
(Imbudo)
โมลาเบ
(Molave)
15 – 25 กรกฎาคม 2546 พายุไต้ฝุ่น 165 กม./ชม. 935 hPa ฟิลิปปินส์, จีน 64 &0000000339600000000000340 ล้านดอลลาร์สหรัฐ [40]
แมมี
(Maemi)
มูจีแก
(Mujigae)
4 – 16 กันยายน 2546 พายุไต้ฝุ่น 195 กม./ชม. 910 hPa คาบสมุทรเกาหลี 117 &00000041000000000000004.1 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ [39]
2547 ซูดัล
(Sudal)
มีรีแน
(Mirinae)
2 – 18 เมษายน 2547 พายุไต้ฝุ่น 165 กม./ชม. 940 hPa ยาป, กวม ไม่มี &000000001400000000000014 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
เถ่งเถง
(Tingting)
ไลออนร็อก
(Lionrock)
24 มิถุนายน – 4 กรกฎาคม 2547 พายุไต้ฝุ่น 150 กม./ชม. 955 hPa หมู่เกาะมาเรียนา, ญี่ปุ่น 12 &000000002370000000000023.7 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
รานานิม
(Rananim)
ฟานาปี
(Fanapi)
6 – 15 สิงหาคม 2547 พายุไต้ฝุ่น 150 กม./ชม. 950 hPa จีน, ญี่ปุ่น 169 &00000024400000000000002.44 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
2548 มัดสา
(Matsa)
ปาข่า
(Pakhar)
30 กรกฎาคม – 9 สิงหาคม 2548 พายุไต้ฝุ่น 150 กม./ชม. 950 hPa จีน, ไต้หวัน 29 &00000022300000000000002.23 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
นาบี
(Nabi)
ทกซูรี
(Doksuri)
29 สิงหาคม – 9 กันยายน 2548 พายุไต้ฝุ่น 175 กม./ชม. 925 hPa หมู่เกาะมาเรียนา, ญี่ปุ่น, เกาหลีใต้ 32 &0000000535000000000000535 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
หลงหวาง
(Longwang)
ไห่ขุย
(Haikui)
25 กันยายน – 3 ตุลาคม 2548 พายุไต้ฝุ่น 175 กม./ชม. 930 hPa ไต้หวัน, จีน 149 &0000000970500000000000971 ล้านดอลลาร์สหรัฐ [41][42][43][44]
2549 เจินจู
(Chanchu)
ซันปา
(Sanba)
8 – 19 พฤษภาคม 2549 พายุไต้ฝุ่น 175 กม./ชม. 930 hPa ฟิลิปปินส์, ไต้หวัน, จีน, เวียดนาม 268 &0000000478000000000000478 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
บิลิส
(Bilis)
มาลิกซี
(Maliksi)
8 – 16 กรกฎาคม 2549 พายุโซนร้อนกำลังแรง 110 กม./ชม. 970 hPa ฟิลิปปินส์, ไต้หวัน, จีน 859 &00000044000000000000004.4 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ [45][20][46]
ซาวมาย
(Saomai)
เซินติญ
(Son-Tinh)
4 – 11 สิงหาคม 2549 พายุไต้ฝุ่น 195 กม./ชม. 925 hPa หมู่เกาะมาเรียนา, ไต้หวัน, จีน 458 &00000025000000000000002.5 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ [46]
ช้างสาร
(Xangsane)
หลี่ผี
(Leepi)
25 กันยายน – 2 ตุลาคม 2549 พายุไต้ฝุ่น 155 กม./ชม. 925 hPa ฟิลิปปินส์, เวียดนาม, ไทย 312 &0000000750000000000000750 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
ทุเรียน
(Durian)
มังคุด
(Mangkhut)
25 พฤศจิกายน – 7 ธันวาคม 2549 พายุไต้ฝุ่น 195 กม./ชม. 915 hPa ฟิลิปปินส์, เวียดนาม, ไทย >1,500 >&0000000400000000000000400 ล้านดอลลาร์สหรัฐ [47][48]
18 ชื่อ อ้างอิง:[nb 1][nb 3][nb 4][nb 5][nb 6] >4267 >2.48 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ

พุทธทศวรรษ 2550[แก้]

ฤดูกาล ชื่อ ชื่อใช้แทน วันที่พายุมีกำลัง ระดับความรุนแรง ความเร็วลม ความกดอากาศ พื้นที่ได้รับผลกระทบ ผู้เสียชีวิต ความเสียหาย (USD) อ้างอิง
2552 มรกต
(Morakot)
อัสนี
(Atsani)
2 – 12 สิงหาคม 2552 พายุไต้ฝุ่น 140 กม./ชม. 945 hPa ไต้หวัน, จีน, คาบสมุทรเกาหลี 789 &00000062000000000000006.2 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
เกดสะหนา
(Ketsana)
จำปี
(Champi)
23 – 30 กันยายน 2552 พายุไต้ฝุ่น 130 กม./ชม. 960 hPa ฟิลิปปินส์, เวียดนาม, ลาว
กัมพูชา, ไทย
710 &00000010900000000000001.09 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
ป้าหม่า
(Parma)
ยีนฟ้า
(In-fa)
27 กันยายน – 14 ตุลาคม 2552 พายุไต้ฝุ่น 185 กม./ชม. 930 hPa ฟิลิปปินส์, จีน, เวียดนาม 500 &0000000617000000000000617 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
2553 ฟานาปี
(Fanapi)
ราอี
(Rai)
14 – 21 กันยายน 2553 พายุไต้ฝุ่น 175 กม./ชม. 930 hPa ไต้หวัน, จีน 105 &00000010047100000000001 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ [52]
2554 วาชิ
(Washi)
ฮาโตะ
(Hato)
13 – 19 ธันวาคม 2554 พายุโซนร้อนกำลังแรง 95 กม./ชม. 992 hPa ไมโครนีเชีย, ปาเลา, ฟิลิปปินส์ 2,546 &000000009780000000000097.8 ล้านดอลลาร์สหรัฐ [53][54]
2555 บิเซนเต
(Vicente)
ลัง
(Lan)
18 – 25 กรกฎาคม 2555 พายุไต้ฝุ่น 150 กม./ชม. 950 hPa ฟิลิปปินส์, จีน
เวียดนาม, ลาว, พม่า
13 &0000000324238000000000324 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
บบพา
(Bopha)
อ็อมปึล
(Ampil)
25 พฤศจิกายน – 9 ธันวาคม 2555 พายุไต้ฝุ่น 185 กม./ชม. 930 hPa ไมโครนีเชีย, ฟิลิปปินส์ 1,901 &00000010400000000000001.04 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
2556 โซนามู
(Sonamu)
ชงดารี
(Jongdari)
1 – 10 มกราคม 2556 พายุโซนร้อนกำลังแรง 95 กม./ชม. 990 hPa ฟิลิปปินส์, เวียดนาม, มาเลเซีย 2 &0000000000000001000000 เล็กน้อย [55][56]
อูตอร์
(Utor)
บารีจัต
(Barijat)
8 – 18 สิงหาคม 2556 พายุไต้ฝุ่น 195 กม./ชม. 925 hPa ฟิลิปปินส์, จีน 97 &00000035624300000000003.56 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ [57][58][59]
ฟิโทว์
(Fitow)
มูน
(Mun)
29 กันยายน – 7 ตุลาคม 2556 พายุไต้ฝุ่น 140 กม./ชม. 960 hPa จีน, ไต้หวัน, ญี่ปุ่น 12 1.04 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ [57]
ไห่เยี่ยน
(Haiyan)
ไป๋ลู่
(Bailu)
3 – 11 พฤศจิกายน 2556 พายุไต้ฝุ่น 230 กม./ชม. 895 hPa ปาเลา, ฟิลิปปินส์, เวียดนาม, จีน 8,052 &00000045500000000000004.55 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ [57][60]
2557 รามสูร
(Rammasun)
บัวลอย
(Bualoi)
9 – 20 กรกฎาคม 2557 พายุไต้ฝุ่น 165 กม./ชม. 935 hPa ฟิลิปปินส์, จีน, เวียดนาม 222 &00000080770000000000008.08 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ [61][62][63]
2558 เซาเดโลร์
(Soudelor)
โซเดล
(Saudel)
29 กรกฎาคม – 11 สิงหาคม 2558 พายุไต้ฝุ่น 215 กม./ชม. 900 hPa หมู่เกาะมาเรียนา, ญี่ปุ่น, ไต้หวัน, จีน 40 &00000038394600000000003.84 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ [64]
มูจีแก
(Mujigae)
ซูรีแก
(Surigae)
30 กันยายน – 15 ตุลาคม 2558 พายุไต้ฝุ่น 155 กม./ชม. 950 hPa ฟิลิปปินส์, จีน 29 &00000042513000000000004.25 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ [64]
คปปุ
(Koppu)
โคงูมะ
(Koguma)
12 – 21 ตุลาคม 2558 พายุไต้ฝุ่น 185 กม./ชม. 925 hPa ฟิลิปปินส์ 58 &0000000308700000000000309 ล้านดอลลาร์สหรัฐ [64]
เมอโลร์
(Melor)
เจิมปากา
(Cempaka)
9 – 17 ธันวาคม 2558 พายุไต้ฝุ่น 175 กม./ชม. 935 hPa ฟิลิปปินส์ 51 &0000000148880000000000149 ล้านดอลลาร์สหรัฐ [64]
2559 เมอรันตี
(Meranti)
ญาโตะฮ์
(Nyatoh)
9 – 16 กันยายน 2559 พายุไต้ฝุ่น 220 กม./ชม. 890 hPa ฟิลิปปินส์ ไต้หวัน จีน 47 &00000048021300000000004.8 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
ซาเระกา
(Sarika)
ตรอเสะ
(Trases)
13 – 19 ตุลาคม 2559 พายุไต้ฝุ่น 175 กม./ชม. 935 hPa ฟิลิปปินส์ จีน เวียดนาม 37 &0000000876400000000000876 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
ไหหม่า
(Haima)
มู่หลัน
(Mulan)
14 – 22 ตุลาคม 2559 พายุไต้ฝุ่น 215 กม./ชม. 900 hPa ฟิลิปปินส์ ไต้หวัน จีน 19 &0000000976170000000000976 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
นกเตน
(Nock-ten)
หีนหนามหน่อ
(Hinnamnor)
20 – 28 ธันวาคม 2559 พายุไต้ฝุ่น 195 กม./ชม. 915 hPa ฟิลิปปินส์ 13 &0000000127500000000000128 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
20 ชื่อ อ้างอิง:[nb 1][nb 3][nb 4][nb 5][nb 6] 15,247 คน 4.09 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ
หรือประมาณ &00013520768275360000001.35 ล้านล้านบาท

พุทธทศวรรษ 2560[แก้]

ฤดูกาล ชื่อถูกถอน ชื่อใช้แทน วันที่พายุมีกำลัง ระดับความรุนแรง ความเร็วลม ความกดอากาศ พื้นที่ได้รับผลกระทบ ผู้เสียชีวิต ความเสียหาย (USD) อ้างอิง
2560 ฮาโตะ
(Hato)
ยามาเนโกะ
(Yamaneko)
19 – 24 สิงหาคม 2560 พายุไต้ฝุ่น 140 กม./ชม. 965 hPa ฟิลิปปินส์, ไต้หวัน, จีน, เวียดนาม 24 &00000068214300000000006.82 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ [65]
ไคตั๊ก
(Kai-tak)
ยี้นเยิ้ง
(Yun-yeung)
13 – 23 ธันวาคม 2560 พายุโซนร้อน 75 กม./ชม. 994 hPa ฟิลิปปินส์, มาเลเซีย 83 &000000007500000000000075 ล้านดอลลาร์สหรัฐ [65]
เท็มบิง
(Tembin)
โคอินุ
(Koinu)
20 – 26 ธันวาคม 2560 พายุไต้ฝุ่น 130 กม./ชม. 970 hPa ฟิลิปปินส์, มาเลเซีย, เวียดนาม 266 &000000004240000000000042.4 ล้านดอลลาร์สหรัฐ [65]
2561 รุมเบีย
(Rumbia)
ปูลาซัน
(Pulasan)
15 – 18 สิงหาคม 2561 พายุโซนร้อน 85 กม./ชม. 985 hPa ญี่ปุ่น, จีน 53 &00000053600000000000005.36 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ [65]
มังคุด
(Mangkhut)
กระท้อน
(Krathon)
7 – 17 กันยายน 2561 พายุไต้ฝุ่น 205 กม./ชม. 905 hPa กวม, ฟิลิปปินส์, ไต้หวัน, จีน 134 &00000037400000000000003.74 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ [65]
ยวี่ถู่
(Yutu)
(ถูกถอนพร้อมฤดูกาล 2562)
หยินซิ่ง
(Yinxing)
21 ตุลาคม – 17 พฤศจิกายน 2561 พายุไต้ฝุ่น 215 กม./ชม. 900 hPa หมู่เกาะแคโรไลน์, หมู่เกาะมาเรียนา, ฟิลิปปินส์, ตอนใต้ของจีน, ไต้หวัน 30 &0000000854100000000000854 ล้านดอลลาร์สหรัฐ [66][67]
2562 เลกีมา
(Lekima)
ก๋อมัย
(Comay)
2 – 13 สิงหาคม 2562 พายุไต้ฝุ่น 195 กม./ชม. 925 hPa หมู่เกาะแคโรไลน์, ฟิลิปปินส์, ญี่ปุ่น, ไต้หวัน, เกาหลีใต้, จีน 90 &00000092800000000000009.28 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ [68]
ฟ้าใส
(Faxai)
หนองฟ้า
(Nongfa)
2 – 9 กันยายน 2562 พายุไต้ฝุ่น 155 กม./ชม. 955 hPa ญี่ปุ่น 3 &00000081200000000000008.12 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ [69]
ฮากีบิส
(Hagibis)
รากาซะ
(Ragasa)
4 – 13 ตุลาคม 2562 พายุไต้ฝุ่น 195 กม./ชม. 915 hPa หมู่เกาะมาเรียนา, ญี่ปุ่น, เกาหลีใต้, รัสเซียตะวันออกไกล, หมู่เกาะอะลูเชียน, รัฐอะแลสกา 98 &000001500000000000000015 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ [70]
คัมมูริ
(Kammuri)
โคโตะ
(Koto)
24 พฤศจิกายน – 6 ธันวาคม 2562 พายุไต้ฝุ่น 165 กม./ชม. 950 hPa หมู่เกาะแคโรไลน์, หมู่เกาะมาเรียนา, ฟิลิปปินส์ 12 &0000000116000000000000116 ล้านดอลลาร์สหรัฐ [71]
ฟานทอง
(Phanfone)
นกแอ่น
(Nokaen)
19 – 29 ธันวาคม 2562 พายุไต้ฝุ่น 150 กม./ชม. 970 hPa หมู่เกาะแคโรไลน์, ฟิลิปปินส์ 50 &000000006720000000000067.2 ล้านดอลลาร์สหรัฐ [72]
2563 หว่องฟ้ง
(Vongfong)
เปญา
(Penha)
8–18 พฤษภาคม 2563 พายุไต้ฝุ่น 155 กม./ชม. 960 hPa ปาเลา, ฟิลิปปินส์, ไต้หวัน 5 &000000005000000000000050 ล้านดอลลาร์สหรัฐ [73]
หลิ่นฟา
(Linfa)
เผ่ย์โหล่ว
(Peilou)
6-12 ตุลาคม 2563 พายุโซนร้อน 75 กม./ชม. 994 hPa ฟิลิปปินส์, เวียดนาม, กัมพูชา, ลาว, ไทย, พม่า 138 &0000000217000000000000217 ล้านดอลลาร์สหรัฐ [74]
โมลาเบ
(Molave)
นาร์รา
(Narra)
22-29 ตุลาคม 2563 พายุไต้ฝุ่น 165 กม./ชม. 940 hPa ฟิลิปปินส์, หมู่เกาะสแปรตลี, เวียดนาม, ลาว, กัมพูชา, ไทย, มาเลเซีย, พม่า 71 &0000000660000000000000660 ล้านดอลลาร์สหรัฐ [75]
โคนี
(Goni)
แคนารี
(Gaenari)
26 ตุลาคม-6 พฤศจิกายน 2563 พายุไต้ฝุ่น 220 กม./ชม. 905 hPa ฟิลิปปินส์, เวียดนาม, กัมพูชา, ลาว 32 &0000000415000000000000415 ล้านดอลลาร์สหรัฐ [76]
หว่ามก๋อ
(Vamco)
บั่งลัง
(Bang-Lang)
8-15 พฤศจิกายน 2563 พายุไต้ฝุ่น 165 กม./ชม. 955 hPa ฟิลิปปินส์, เวียดนาม, ลาว, ไทย 102 &0000000440000000000000440 ล้านดอลลาร์สหรัฐ [77]
16 ชื่อ อ้างอิง:[nb 7] 1,161 คน 5.13 หมื่นล้าน ดอลลาร์สหรัฐ
หรือประมาณ 1.59 ล้านล้านบาท

บันทึก[แก้]

  1. 1.0 1.1 1.2 อ้างอิงสำหรับรายชื่อที่ถูกปลดระหว่าง พ.ศ. 2490 ถึง 2553[26]
  2. ชื่อ ฮวาเหม่ย์ ถูกปลดเนื่องจากถูกบันทึกว่าเป็นพายุแรกที่เกิดขึ้นใกล้กับบริเวณศูนย์สูตร[26]
  3. 3.0 3.1 อ้างอิงสำหรับช่วงเวลา, ฤดูกาล, ความเร็วลม และ ความกดอากาศ ระหว่าง พ.ศ. 2543 ถึง 2566 [49]
  4. 4.0 4.1 อ้างอิงสำหรับรายชื่อที่ถูกปลดระหว่าง พ.ศ. 2543 ถึง 2558[5]
  5. 5.0 5.1 อ้างอิงสำหรับรายชื่อที่ถูกปลดระหว่าง พ.ศ. 2543 ถึง 2558[50]
  6. 6.0 6.1 อ้างอิงสำหรับรายชื่อที่ถูกปลดระหว่าง พ.ศ. 2490 ถึง 2556[51]
  7. อ้างอิงสำหรับรายชื่อที่ถูกปลดระหว่าง พ.ศ. 2543 ถึง 2561[78]

หมายเหตุ[แก้]


อ้างอิง[แก้]

  1. "Tropical Cyclones in 2006". Hong Kong Observatory. 2007. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-02-07. สืบค้นเมื่อ 2008-03-04.
  2. Digital Typhoon (2006). "Typhoon List View". สืบค้นเมื่อ 2008-03-04.[ลิงก์เสีย]
  3. Chris Landsea (2007). "How are Tropical Cyclones Named?". Hurricane Research Division. สืบค้นเมื่อ 2008-03-05.
  4. Economic and Social Commission for Asia and the Pacific (2001). "Report of the Typhoon Committee on its Thirty-Fourth Session" (DOC). World Meteorological Organization. สืบค้นเมื่อ 2008-03-04.[ลิงก์เสีย]
  5. 5.0 5.1 5.2 5.3 Tropical Cyclone Programme (2008). "Typhoon Committee Operational Manual — Meteorological Component" (PDF). World Meteorological Organization. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2012-09-22. สืบค้นเมื่อ 2008-03-04. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่สมเหตุสมผล มีนิยามชื่อ "2008wmo" หลายครั้งด้วยเนื้อหาต่างกัน
  6. "Change of Tropical Cyclone Names : "Dolphin" and "Lionrock" to replace "Yanyan" and "Tingting"". Hong Kong Observatory. 2005. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-10-11. สืบค้นเมื่อ 2008-03-04.
  7. "Retirement of Names from the List of Names of Tropical Cyclones for the Typhoon Committee Region" (PDF). Typhoon Committee. สืบค้นเมื่อ 21 February 2014.
  8. "Western North Pacific Typhoon Best Track File 1951-2018". Japan Meteorological Agency. สืบค้นเมื่อ 2018-07-19.
  9. Jane Cai & Vivian Wu (2005-08-09). "Beijing escapes downpour as killer storm loses power". South China Morning Post.
  10. NWS Focus (2002). "Typhoon Chata`an Wreaks Havoc in the Western Pacific: Chuuk Office Loses Instruments, New Guam Office Weathers the Storm". NOAA. สืบค้นเมื่อ 2008-03-07.
  11. Motoyuki Ushiyama (2003). "Heavy Rainfall Disaster in Eastern Japan Caused by Typhoon 0206 from July 9 to 12, 2002" (PDF). Japan Disaster Control Research Center. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2008-02-27. สืบค้นเมื่อ 2008-03-07.
  12. Hong Kong Observatory (2003). "Typhoon Imbudo (0307) : 17–25 July 2003". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-12-01. สืบค้นเมื่อ 2008-03-07.
  13. "Fanapi death toll hits 100". The Straits Times. September 28, 2010. สืบค้นเมื่อ 28 September 2010.
  14. Yang Lei (2006). "CMA solicits new typhoon name". Xinhua. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-09-28. สืบค้นเมื่อ 2008-03-07.
  15. Associated Press (2005-10-04). "Typhoon Longwang Death Toll Hits 50". Fox News. สืบค้นเมื่อ 2008-03-07.
  16. Reuters (2006-05-25). "Asian typhoon kills 104". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-10-08. สืบค้นเมื่อ 2008-03-07.
  17. Agence France-Presse (2006-10-04). "Philippines still assessing damage from typhoon Xangsane". ReliefWeb. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-12-12. สืบค้นเมื่อ 2006-10-08.
  18. Agence France-Presse (2006-10-03). "Typhoon death toll nears 250 in Vietnam, Philippines". ReliefWeb. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-12-13. สืบค้นเมื่อ 2006-10-08.
  19. "Typhoon Bilis leaves Philippines after killing at least 14". Xinhua News Agency. 2006-07-14.
  20. 20.0 20.1 "Tropical Storm Bilis swirls into China after battering Taiwan, Philippines". Associated Press. 2006-07-16. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-06-29. สืบค้นเมื่อ 2019-03-02.
  21. "1960 Lucille (1960146N08131)". International Best Track Archive. 2013. สืบค้นเมื่อ April 30, 2013.[ลิงก์เสีย]
  22. "Annual Tropical Cyclone Report: Tropical Storm Lucille" (PDF). Joint Typhoon Warning Center. United States Navy. 1961. pp. 37–40. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2018-09-25. สืบค้นเมื่อ April 29, 2013.
  23. United Press International (May 30, 1960). "Killer Typhoon Rips Philippines". Sarasota Herald-Tribune. Manila, Philippines. p. 1. สืบค้นเมื่อ April 30, 2013.
  24. Associated Press (May 30, 1960). "150 Dead In Flood". Daytona Beach Sunday News-Journal. Manila, Philippines. p. 1. สืบค้นเมื่อ April 30, 2013.
  25. United States Fleet Weather Center/Joint Typhoon Warning Center. JTWC Annual Tropical Cyclone Report: 1960 (PDF) (Report). United States Navy, United States Air Force. p. 176. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2018-09-25. สืบค้นเมื่อ February 25, 2012.
  26. 26.0 26.1 26.2 26.3 Zhou, Xiao; Lei, Xiaotu (2012). "Summary of retired typhoons within the Western North Pacific Ocean". Tropical Cyclone Research and Review. The Economic and Social Commission for Asia and the Pacific/World Meteorological Organization's Typhoon Committee. 1 (1): 23–32. doi:10.6057/2012TCRR01.03. ISSN 2225-6032. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-08-12. สืบค้นเมื่อ December 21, 2014. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่สมเหตุสมผล มีนิยามชื่อ "Retired typhoons" หลายครั้งด้วยเนื้อหาต่างกัน
  27. "Annual Tropical Cyclone Report: Typhoon Ophelia" (PDF). Joint Typhoon Warning Center. United States Navy. 1961. pp. 158–167. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2018-09-25. สืบค้นเมื่อ April 29, 2013.
  28. "Annual Tropical Cyclone Report: Typhoon Karen" (PDF). Joint Typhoon Warning Center. United States Navy. 1963. pp. 202–216. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2018-09-25. สืบค้นเมื่อ April 28, 2013.
  29. "Annual Tropical Cyclone Report: Bess" (PDF). Joint Typhoon Warning Center. United States Navy. 1975. pp. 39–40. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2018-09-25. สืบค้นเมื่อ May 2, 2013.
  30. "ASN Aircraft Accident: Lockheed WC-130H Hercules 65-0965 South China Sea". Aviation Safety Network. 2013. สืบค้นเมื่อ May 2, 2013.
  31. "台風198210号 (Bess) – 災害情報". Digital Typhoon (ภาษาญี่ปุ่น). National Institute of Informatics. 2013. สืบค้นเมื่อ April 28, 2013.
  32. "Annual Tropical Cyclone Report: Typhoon Thelma (27W)" (PDF). Joint Typhoon Warning Center. United States Navy. 1992. pp. 132–135. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2020-08-13. สืบค้นเมื่อ May 3, 2013.
  33. "Philippines Floods Nov 1991 UNDRO Situation Reports 1–8". United Nations Department of Humanitarian Affairs. ReliefWeb. November 29, 1991. สืบค้นเมื่อ May 3, 2013.
  34. Monte L. Peterson (July 1992). "Reconnaissance Report: Flooding Resulting From Typhoon Uring In Ormoc City, Leyte Province, The Philippines" (PDF). United States Army Corps of Engineers. pp. 1–49. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2017-02-25. สืบค้นเมื่อ May 3, 2013.
  35. Cris Evert Lato (November 12, 2010). "Ormoc rises from flash flood tragedy". Ormoc, Philippines: The Inquirer. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-12-03. สืบค้นเมื่อ May 7, 2013.
  36. "Recent Floods Claimed Five Lives and Caused Substantial Damage" (PDF). Bernama. January 8, 2002. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ December 21, 2014. สืบค้นเมื่อ December 21, 2014.
  37. NWS Focus (2002). "Typhoon Chata`an Wreaks Havoc in the Western Pacific: Chuuk Office Loses Instruments, New Guam Office Weathers the Storm". NOAA. สืบค้นเมื่อ 2008-03-07.
  38. Motoyuki Ushiyama (2003). "Heavy Rainfall Disaster in Eastern Japan Caused by Typhoon 0206 from July 9 to 12, 2002" (PDF). Japan Disaster Control Research Center. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2008-02-27. สืบค้นเมื่อ 2008-03-07.
  39. 39.0 39.1 Qian Ye (2004). "Typhoon Rusa and Super Typhoon Maemi in Korea" (PDF). The University Corporation for Atmospheric Research. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2009-03-20. สืบค้นเมื่อ 2008-03-05.
  40. Hong Kong Observatory (2003). "Typhoon Imbudo (0307) : 17–25 July 2003". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-12-01. สืบค้นเมื่อ 2008-03-07.
  41. Gary Padgett, Kevin Boyle, John Wallace, Huang Chunliang, and Simon Clarke (February 12, 2006). "Monthly Global Tropical Cyclone Summary: September 2005" (Report). Typhoon 2000. สืบค้นเมื่อ July 9, 2013.{{cite web}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  42. 気象災害報告 (2005-918-05) (ภาษาญี่ปุ่น). National Institute of Informatics. 2005. สืบค้นเมื่อ July 10, 2013.
  43. "Weather: Longwang leaves two dead". Taipei Times. October 4, 2005. สืบค้นเมื่อ July 11, 2013.
  44. "China Country Report For the 38th Session of the Typhoon Committee" (PDF). World Meteorological Organization. November 19, 2005. สืบค้นเมื่อ July 12, 2013.
  45. "Typhoon Bilis leaves Philippines after killing at least 14". Xinhua News Agency. 2006-07-14.
  46. 46.0 46.1 Typhoon Committee (2006-12-04). "Review of the 2006 Typhoon Season". World Meteorological Organization. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (DOC)เมื่อ 2007-08-09.
  47. Centre for Research on the Epidemiology of Disasters (2007). "Disaster data: A balanced perspective — Mar 2007". สืบค้นเมื่อ 2008-03-07.
  48. International Federation of Red Cross And Red Crescent Societies (2007). "Viet Nam: Typhoons Revised Appeal No. MDRVN001 Operation Update No. 3". ReliefWeb. สืบค้นเมื่อ 2008-03-07.
  49. "Western North Pacific Typhoon Best Track File 1951–2024". Japan Meteorological Agency. สืบค้นเมื่อ April 30, 2015.
  50. "List of retired TC names". The Economic and Social Commission for Asia and the Pacific/World Meteorological Organization's Typhoon Committee. 2014. สืบค้นเมื่อ September 4, 2015.
  51. Landsea, Christopher W; Dorst, Neal M (June 20, 2014). "Subject: B3) What storm names have been retired?". Tropical Cyclone Frequently Asked Questions:. United States National Oceanic and Atmospheric Administration. สืบค้นเมื่อ September 4, 2015.
  52. "Fanapi death toll hits 100". The Straits Times. September 28, 2010. สืบค้นเมื่อ 28 September 2010.
  53. RSMC Tokyo — Typhoon Center (January 18, 2012). "Severe Tropical Storm Washi Best Track Analysis". Japan Meteorological Agency. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ January 18, 2012. สืบค้นเมื่อ February 23, 2012.
  54. Ramos, Benito T. Final Report on the Effects and Emergency Management re Tropical Storm "Sendong" (Washi) (PDF) (Report). National Disaster Risk Reduction and Management Center. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ February 24, 2012. สืบค้นเมื่อ February 24, 2012.
  55. "SitRep No.4 for Effects of Tropical Storm Auring" (PDF). National Disaster Risk Reduction and Management Council. January 7, 2013. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-12-07. สืบค้นเมื่อ December 7, 2013.
  56. "'Auring' death toll rises to two, part of Palawan road impassable". NDRRMC, GMA News. สืบค้นเมื่อ January 8, 2013.
  57. 57.0 57.1 57.2 China Meteorological Agency (November 22, 2013). Member Report: China (PDF). ESCAP/WMO Typhoon Committee: 8th Integrated Workshop/2nd TRCG Forum. ESCAP/WMO Typhoon Committee. p. 16. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ December 3, 2013. สืบค้นเมื่อ November 26, 2013.
  58. ""August 2013 Global Catastrophe Recap"" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2014-04-18. สืบค้นเมื่อ 2015-11-09.
  59. SitRep No.18 re Effects of Typhoon "Labuyo" (Utor) (PDF) (Report). National Disaster Risk Reduction and Management Council. February 24, 2013. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-12-07. สืบค้นเมื่อ December 7, 2013.
  60. "Philippines reels from catastrophe as Typhoon Haiyan hits Vietnam — CNN.com". CNN. November 11, 2013.
  61. Effects of Tropical Storm Glenda (PDF) (Final Report). National Disaster Risk Reduction and Management Council. October 23, 2014. pp. 12, 13, 43, 44, 45. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-04-06. สืบค้นเมื่อ April 6, 2015.
  62. "Dual typhoons kill 64 in China". July 25, 2014. สืบค้นเมื่อ July 25, 2014.
  63. Typhoon Rammasun kills 27 in Vietnam
  64. 64.0 64.1 64.2 64.3 "48th ESCAP/WMO Typhoon Committee Session Report" (PDF). ESCAP/WMO Typhoon Committee. สืบค้นเมื่อ 19 September 2016.
  65. 65.0 65.1 65.2 65.3 65.4 "51st session of TC declared the retirement of the typhoon names of Rumbia and Mangkhut". www.cma.gov.cn. สืบค้นเมื่อ 2019-03-01.
  66. Haidee V. Eugenio (October 26, 2018). "Humanitarian crisis looms after Super Typhoon Yutu flattens parts of Saipan and Tinian". USA Today. สืบค้นเมื่อ January 30, 2019.
  67. "Global Catastrophe Recap October 2018" (PDF). AON. AON. November 7, 2018. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2018-11-16. สืบค้นเมื่อ November 21, 2018.
  68. "52nd Typhoon Committee" (PDF). www.typhooncommittee.org. สืบค้นเมื่อ 2020-02-17.
  69. "52nd Typhoon Committee" (PDF). www.typhooncommittee.org. สืบค้นเมื่อ 2020-02-17.
  70. "52nd Typhoon Committee" (PDF). www.typhooncommittee.org. สืบค้นเมื่อ 2020-02-17.
  71. "52nd Typhoon Committee" (PDF). www.typhooncommittee.org. สืบค้นเมื่อ 2020-02-17.
  72. "52nd Typhoon Committee" (PDF). www.typhooncommittee.org. สืบค้นเมื่อ 2020-02-17.
  73. "53rd Session of TC - Working Doc Page". typhooncommittee.org. สืบค้นเมื่อ 2021-02-01.
  74. "53rd Session of TC - Working Doc Page". typhooncommittee.org. สืบค้นเมื่อ 2021-02-01.
  75. "53rd Session of TC - Working Doc Page". typhooncommittee.org. สืบค้นเมื่อ 2021-02-01.
  76. "53rd Session of TC - Working Doc Page". typhooncommittee.org. สืบค้นเมื่อ 2021-02-01.
  77. "53rd Session of TC - Working Doc Page". typhooncommittee.org. สืบค้นเมื่อ 2021-02-01.
  78. "List of retired TC names". The Economic and Social Commission for Asia and the Pacific/World Meteorological Organization's Typhoon Committee. 2018.