รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศอิรัก

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศอิรักทั้งสิ้น 6 แหล่ง[1]

สถานที่ที่ได้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก[แก้]

*หมายเหตุ: ระบุชื่อสถานที่ตามที่ขึ้นทะเบียนในบัญชีมรดกโลก
สถานที่ ภาพ ที่ตั้ง ประเภท พื้นที่
ha (acre)
ปี (พ.ศ./ค.ศ.) หมายเหตุ อ้างอิง
แฮตรา  อิรัก
35°35′17″N 42°43′6″E / 35.58806°N 42.71833°E / 35.58806; 42.71833 (Hatra)
วัฒนธรรม:
(ii) (iii) (iv) (vi)
324 (800) 2528/1985 เป็นมรดกโลกที่ตกอยู่ในสภาวะอันตราย [2]
อาชูร์ (ก็อลอะฮ์ชัรกียะฮ์)  อิรัก
35°27′32″N 43°15′35″E / 35.45889°N 43.25972°E / 35.45889; 43.25972 (Ashur (Qal'at Sherqat))
วัฒนธรรม:
(iii) (iv)
70 (170); พื้นที่กันชน 100 (250) 2546/2003 เป็นมรดกโลกที่ตกอยู่ในสภาวะอันตราย [3]
นครโบราณคดีซามาร์รา  อิรัก
34°20′28″N 43°49′25″E / 34.34111°N 43.82361°E / 34.34111; 43.82361 (Ashur (Qal'at Sherqat))
วัฒนธรรม:
(ii) (iii) (iv)
15,058 (37,210); พื้นที่กันชน 31,414 (77,630) 2550/2007 เป็นมรดกโลกที่ตกอยู่ในสภาวะอันตราย [4]
ป้อมเอร์บีล  อิรัก
36°11′28″N 44°0′33″E / 36.19111°N 44.00917°E / 36.19111; 44.00917 (Erbil Citadel)
วัฒนธรรม:
(iv)
16 (40); พื้นที่กันชน 268 (660) 2557/2014 [5]
อะฮ์วารแห่งอิรักตอนใต้ : ที่ปลอดภัยของความหลากหลายทางชีวภาพและภูมิทัศน์ที่เหลืออยู่ของนครเมโสโปเตเมีย  อิรัก ผสม:
(iii) (v) (ix) (x)
211,544; พื้นที่กันชน 209,321 2559/2016 [6]
บาบิโลน  อิรัก วัฒนธรรม:
(iii)(vi)
1,054.3; พื้นที่กันชน 154.5 2562/2019 [7]

สถานที่ที่ได้ขึ้นบัญชีรายชื่อเบื้องต้น[แก้]

ประเทศอิรักมีสถานที่ที่ได้รับขึ้นบัญชีรายชื่อเบื้องต้น (Tentative List) เพื่อพิจารณาเป็นมรดกโลกในอนาคตทั้งสิ้น 11 แห่ง [1]

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 "World Heritage Properties in Iraq". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 9 กรกฎาคม 2019.
  2. "Hatra". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 3 พฤศจิกายน 2015.
  3. "Ashur (Qal'at Sherqat)". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 3 พฤศจิกายน 2015.
  4. "Samarra Archaeological City". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 3 พฤศจิกายน 2015.
  5. "Erbil Citadel". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 3 พฤศจิกายน 2015.
  6. "The Ahwar of Southern Iraq: Refuge of Biodiversity and the Relict Landscape of the Mesopotamian Cities". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 9 กรกฎาคม 2019.
  7. "Babylon". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 9 กรกฎาคม 2019.