รัฐว้า
หน้าตา
รัฐว้า | |
---|---|
![]() แผนที่ของรัฐว้า (สีเขียว) ภายในดินแดนเมียนมาร์ (สีเทาเข้ม) | |
สถานะ | เขตพื้นที่ที่ปกครองตนเอง (โดยนิตินัย)[1][2][3][4] รัฐอิสระ (โดยพฤตินัย)[5][6][7] |
เมืองหลวง | ปางคำ 22°10′N 99°11′E / 22.167°N 99.183°E |
เมืองใหญ่สุด | Mong Pawk |
ภาษาราชการ | None |
ภาษาว้า | |
ภาษาทำงาน | ภาษาจีนมาตรฐาน |
กลุ่มชาติพันธุ์ | ว้า, หุย (Panthay), ฮั่น, ไตย, มูเซอ, อาข่า, และอื่นๆ |
การปกครอง | รัฐพรรคการเมืองเดียว สังคมนิยม[8] |
• ประธานาธิบดี | Bao Youxiang[9] |
• รองประธานาธิบดี | Zhao Guo-an, Lau Yaku[10] |
• ประธานแห่ง WPPCC | Zhao Ai Dao[11] |
ประวัติศาสตร์ | |
• การก่อตั้งของ สหพรรครัฐว้า และ กองทัพผสมรัฐว้า | 17 เมษายน พ.ศ. 2532 |
• การพักรบระหว่างกองทัพผสมรัฐว้าและตะมะดอ | 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2532 |
• การก่อตั้งของเขตปกครองตนเองว้า | 20 สิงหาคม พ.ศ. 2553 |
พื้นที่ | |
• รวม | 30,000 ตารางกิโลเมตร (12,000 ตารางไมล์) |
ประชากร | |
• ประมาณ | |
32.8 ต่อตารางกิโลเมตร (85.0 ต่อตารางไมล์) | |
สกุลเงิน | หยวนจีน (เหนือ) ไทยบาท (ใต้) |
เขตเวลา | UTC+06:30 (เวลามาตรฐานพม่า) |
ขับรถด้าน | ขวา |
รหัสโทรศัพท์ | +86 (0)879 (เหนือ) +66 (0)53 (ใต้) |
รัฐว้า เป็นรัฐอิสระโดยพฤตินัยที่มีระบอบการเมือง การแบ่งเขตปกครองและกองทัพ[5][6][7] ในขณะที่รัฐบาลของรัฐว้ายอมรับอธิปไตยของเมียนมาร์ทั่วทั้งแผ่นดิน[1][2][3][4] สิ่งนี้ไม่รวมถึงความจงรักภักดีต่อรัฐบาลใดรัฐบาลหนึ่งโดยเฉพาะ[14] รัฐธรรมนูญของเมียนมาร์ ฉบับปีพุทธศักราช 2551 ยอมรับดินแดนส่วนเหนือของรัฐว้าในฐานะของเขตปกครองตนเองว้าในรัฐฉาน[15] ด้วยระบอบการเมืองการปกครองโดยพฤตินัยคือ รัฐพรรคการเมืองเดียว สังคมนิยม ปกครองโดยกองทัพผสมรัฐว้า (UWSP) ซึ่งแยกตัวออกจากพรรคคอมมิวนิสต์พม่า (CPB) ในปี พ.ศ. 2532 รัฐว้าถูกแบ่งเป็น 3 เทศมณฑล 2 อำเภอพิเศษ และ 1 เขตพัฒนาเศรษฐกิจ เมืองหลวงของเขตการปกครองคือ ปางคำ (ในอดีตคือปางซาง) ส่วนชื่อของ ว้า ได้มาจากกลุ่มชาติพันธุ์ในพื้นที่ทางตอนเหนือของเมียนมาร์
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 Gray, Denis (2022-08-12). "From headhunting to weaponized drones: Myanmar's Wa carve own path". Nikkei Asia. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2024-07-22. สืบค้นเมื่อ 2024-12-10.
Bertil Lintner, a Swedish author who is a leading authority on Myanmar, said Wa leaders have made no new political demands since the military seized control in Naypyitaw, such as a push for formal independence. An informal peace agreement between the Wa and the central government has lasted since 1989, giving the Wa self-government in return for recognition of Myanmar sovereignty.
- ↑ 2.0 2.1 Paliwal, Avinash (2024-01-24). "Could Myanmar Come Apart?". Foreign Affairs. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2024-02-09. สืบค้นเมื่อ 2024-12-10.
Though the state is nominally part of Myanmar, the Wa have their own political structures...
- ↑ 3.0 3.1 "UWSA Leader Vows to Continue Armed for Wa Autonomy". Burma News International. 2019-04-18. สืบค้นเมื่อ 2024-12-10.
“Wa State is a part of the Union of Burma and cannot be cut out of the union. We won’t demand an independent Wa state or ask for secession.”
- ↑ 4.0 4.1 "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-11-26. สืบค้นเมื่อ 2024-12-29.
- ↑ 5.0 5.1 Kumbun, Joe (23 April 2019). "Protected by China, Wa Is Now a de Facto Independent State". The Irrawaddy. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 29 November 2022. สืบค้นเมื่อ 11 September 2022.
- ↑ 6.0 6.1 29 December 2004, 佤帮双雄 เก็บถาวร 25 พฤษภาคม 2005 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, Phoenix TV.
- ↑ 7.0 7.1 Steinmüller, Hans (2018). "Conscription by Capture in the Wa State of Myanmar: acquaintances, anonymity, patronage, and the rejection of mutuality" (PDF). London School of Economics. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 25 October 2021. สืบค้นเมื่อ 17 April 2021.
- ↑ Hay, Wayne (29 September 2019). "Myanmar: No sign of lasting peace in Wa State". Al Jazeera. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 February 2020. สืบค้นเมื่อ 6 March 2020.
- ↑ "Shan Herald Agency for News (S.H.A.N.)". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 October 2013. สืบค้นเมื่อ 6 December 2015.
'Officially, Bao Youxiang is still the President of the Wa State Government and Commander-in-Chief of the United Wa State Army,' said a Thai security officer, a ten-year veteran on the Thai-Burma border ...
- ↑ voice of the FPNCC (FPNCC之声) (2022-09-17). 佤邦、掸邦东部第四特区及北掸邦第三特区三家友邻兄弟组织16日在邦康进行友好会谈 (ภาษาจีน). “FPNCC之声”微信公众号. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2024-01-20.
佤邦联合党中央政治局常委、佤邦政府副主席兼对外关系部部长赵国安,佤邦联合党中央政治局常委、佤邦政府副主席罗亚库
- ↑ News Bureau of Wa State (佤邦新闻局) (2024-01-13). 佤邦人民政府就户板地区接管工作顺利完成 (ภาษาจีน). “佤邦之音”微信公众号. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2024-01-20.
- ↑ "Wa Self-Administered Division WFP Myanmar". World Food Programme. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 20 March 2020. สืบค้นเมื่อ 20 March 2020.
- ↑ "缅甸佤邦竟然是一个山寨版的中国 – 军情观察". 26 November 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 November 2016.
- ↑ "Myanmar's Wa Army Vows Neutrality in Fight Between Regime, Ethnic Alliance". The Irrawaddy. 1 November 2023.
- ↑ "တိုင်းခုနစ်တိုင်းကို တိုင်းဒေသကြီးများအဖြစ် လည်းကောင်း၊ ကိုယ်ပိုင်အုပ်ချုပ်ခွင့်ရ တိုင်းနှင့် ကိုယ်ပိုင်အုပ်ချုပ်ခွင့်ရ ဒေသများ ရုံးစိုက်ရာ မြို့များကို လည်းကောင်း ပြည်ထောင်စုနယ်မြေတွင် ခရိုင်နှင့်မြို့နယ်များကို လည်းကောင်း သတ်မှတ်ကြေညာ". Weekly Eleven News (ภาษาพม่า). 20 August 2010. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 November 2014. สืบค้นเมื่อ 23 August 2010.