ระบบมีพลวัตแบบเวลายง
ลิงก์ข้ามภาษาในบทความนี้ มีไว้ให้ผู้อ่านและผู้ร่วมแก้ไขบทความศึกษาเพิ่มเติมโดยสะดวก เนื่องจากวิกิพีเดียภาษาไทยยังไม่มีบทความดังกล่าว กระนั้น ควรรีบสร้างเป็นบทความโดยเร็วที่สุด |
บทความนี้ยังต้องการเพิ่มแหล่งอ้างอิงเพื่อพิสูจน์ความถูกต้อง |
ระบบมีพลวัตแบบเวลายง หรือ ระบบไม่แปรเปลี่ยนตามเวลา (อังกฤษ: Time-invariant system) คือระบบที่คุณสมบัติของระบบไม่เปลี่ยนไปเมื่อเวลาเปลี่ยนไป กล่าวคือ สมมุติว่าไม่มีความล่าช้าเกิดขึ้นในระบบ (ระบบรับสัญญาณขาเข้าแล้วสามารถให้สัญญาณขาออกได้ในทันที) ถ้าป้อนสัญญาณขาเข้า ที่เวลา จะได้สัญญาณขาออกเป็น ที่เวลา ดังนั้นหากป้อนสัญญาณขาเข้าเดิมที่เวลา นั้นคือ สัญญาญาณขาออกผลลัพธ์ก็ต้องเป็น ค่าเดิม คือ เพียงแต่จะปรากฏที่เวลา ตามเวลาที่ป้อนสัญญาณขาเข้า
ตัวอย่างที่หนึ่ง
[แก้]ตัวอย่างนี้เป็นการพิจารณาอย่างง่าย โดยเมื่อพิจารณา สมการสถานะ :
- ระบบ A:
- ระบบ B:
จะเห็นได้ว่า ระบบ A นั้นมีพารามิเตอร์ของระบบ (สัมประสิทธิ์หน้า ) ขึ้นกับเวลา t อย่างชัดแจ้ง นั้นหมายความว่าระบบมีคุณสมบัติเปลี่ยนแปรตามเวลาได้ ส่วนระบบ B นั้น พารามิเตอร์ของระบบไม่ขึ้นกับ เวลา t ดังนั้นระบบเป็นระบบไม่เปลี่ยนแปลงตามเวลา
ตัวอย่างที่ 2
[แก้]ในตัวอยางนี้เราจะใช้นิยามที่ 2 ในการตรวจสอบคุณสมบัติความไม่แปรเปลี่ยนตามเวลาของระบบ
ระบบ A:
- พิจารณาสัญญาณขาเข้าที่มีความล่าช้า (delay)
- และเมื่อพิจารณาสัญณาญขาออกของระบบที่เวลา
- จะเห็นได้ว่า , ดังนั้นระบบมีการเปลี่ยนแปรไปตามเวลา
ระบบ B:
- พิจารณาสัญญาณขาเข้าที่มีความล่าช้า
- และเมื่อพิจารณาสัญณาญขาออกของระบบที่เวลา
- จะเห็นได้ว่า , ดังนั้นระบบไม่มีการเปลี่ยนแปรไปตามเวลา
ตัวอย่างที่ 3
[แก้]เราจะใช้ ตัวดำเนินการเลื่อน (shift operator) โดยเขียนในสัญลักษณ์ โดยที่ คือจำนวนที่เราต้องการทำการเลื่อนเชิงเวลา ตัวอย่างเช่น ระบบที่มีการล้ำหน้าเชิงเวลาไป 1 (advance-by-1)
เวลาเขียนในรูปแบบที่ใช้ตัวดำเนินการเลื่อนได้ดังนี้
โดยที่ คือฟังก์ชันนิยามโดย
ซึ่งหลังจากดำเนินการเลื่อนแล้วจะได้ว่า
โดยจะเห็นได้ว่า คือตัวดำเนินการที่ทำให้สัญญาณขาเข้าของเวกเตอร์เลื่อนไปข้างหน้า 1 ขั้นของหน่วยเวลา
หากเราเขียนระบบในในรูปของตัวดำเนินการของตัวระบบ (ในที่นี้คือพารามิเตอร์ A, B, C, D ในรูปแบบสมการปริภูมิสถานะนั้นเอง) ที่ว่านี้ จะเห็นได้ว่าระบบจะมีคุณสมบัติไม่เปลี่ยแปลงเชิงเวลา ถ้าสมการของตัวระบบมีสมบัติการสลับที่กับตัวดำเนินการเลื่อน ดังนี้
นั้นคือถ้าระบบของเราสามารถเขียนได้ในรูปสมการนี้
จะเห็นได้ว่าระบบมีคุณสมบัติไม่เปลี่ยแปลงเชิงเวลาถ้าเราสามารถดำเนินการระหว่าง ต่อ แล้วตามด้วยนำผลที่ได้ไปดำเนินการกับ ที่หลัง หรือ เราสามารถดำเนินการ กับ ได้เลย แล้วนำผลที่ได้ไปดำเนินการกับ โดยผลลัทพ์ที่ได้สุดท้าย นั้นจะไม่แต่ต่างกันเลย
โดยการดำเนินการของระบบ ก่อนกับ จะได้
โดยการดำเนินการเลื่อน ต่อ ก่อนจะได้
และถ้าระบบมีคุณสมบัติไม่เปลี่ยแปรงเชิงเวลาแล้วจะได้ว่า