ข้ามไปเนื้อหา

รหัสจดทะเบียนรถยนต์ระหว่างประเทศ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
สวิตเซอร์แลนด์
เยอรมนี
ไทย
ตัวอย่างป้ายหรือสติ๊กเกอร์รูปวงรีแสดงรหัสประจำตัวทะเบียนรถ
เอสโตเนีย
อินเดีย
บราซิล
ตัวอย่างรหัสประจำตัวทะเบียนรถในทะเบียนรถ

รหัสจดทะเบียนรถยนต์ระหว่างประเทศ หรือ รหัสประจำตัวทะเบียนรถ (VRI code) เป็นเครื่องหมายที่ใช้ในการแสดงประเทศของรถยนต์คันนั้น ๆ เมื่อเดินทางข้ามประเทศ ในหลายประเทศกำหนดให้ใช้ในลักษณะของสติ๊กเกอร์ แต่ในบางประเทศ อย่างเช่นประเทศในสหภาพยุโรปก็มีการกำหนดให้แสดงไว้บนป้ายทะเบียนรถด้วย แม้ตามอนุสัญญาว่าด้วยการจราจรทางถนน ณ กรุงเจนีวา ปี 1949 (Geneva Convention on Road Traffic of 1949) ซึ่งมีผลบังคับใช้ในปี 1952 จะกำหนดให้แสดงแยกไว้ก็ตาม[1] ซึ่งมีการกำหนดรหัสขึ้นครั้งแรกในอนุสัญญาปารีสปี 1909 (ฝรั่งเศส: Convention internationale relative à la Circulation des Automobiles 1909)[2] และอนุสัญญาปารีสปี 1924 (ฝรั่งเศส: Convention internationale relative à la Circulation des Automobiles 1924)[3] ปัจจุบันมีการกำหนดให้มีการใช้ตามอนุสัญญาว่าด้วยการจราจรทางถนน ณ กรุงเจนีวา ปี 1949 (Geneva Convention on Road Traffic of 1949) และอนุสัญญาว่าด้วยการจราจรทางถนน ณ กรุงเวียนนา ปี 1968 (Vienna Convention on Road Traffic of 1968)

ประวัติการใช้งาน

[แก้]

อนุสัญญาปารีสปี 1909

[แก้]

ในอนุสัญญาปารีสปี 1909 มีการกำหนดรหัสจดทะเบียนรถยนต์ระหว่างประเทศเป็นครั้งแรก เนื่องด้วยต้องการจะระบุรถยนต์ของแต่คันว่ามาจากประเทศอะไร เนื่องจากรถยนต์มีรูปทรงที่หลากหมายและมีการจำหน่ายในหลายประเทศ และมีการกำหนดรูปแบบของสัญลักษณ์ โดยกำหนดให้ใช้รูปทรงวงรีขนาด 30 ซม. × 18 ซม. (12 นิ้ว × 7 นิ้ว) พร้อมอักษรย่อแทนชื่อประเทศสีดำ จำนวน 1 หรือ 2 ตัวอักษร โดยต้องติดไว้ที่ด้านหลังของรถ แยกจากแผ่นป้ายทะเบียน[4]

รหัสจดทะเบียนรถยนต์ระหว่างประเทศในอนุสัญญาปารีสปี 1909
ประเทศ รหัส
ประเทศกรีซ กรีซ GR
ประเทศเซอร์เบีย เซอร์เบีย SB
ประเทศเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์ NL
สหราชอาณาจักร บริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ GB
ประเทศบัลแกเรีย บัลแกเรีย BG
ประเทศเบลเยียม เบลเยียม B
ประเทศโปรตุเกส โปรตุเกส P
ประเทศฝรั่งเศส ฝรั่งเศส F
ราชอาณาจักรมอนเตเนโกร มอนเตเนโกร MN
ประเทศโมนาโก โมนาโก MC
ประเทศเยอรมนี เยอรมนี D
ประเทศรัสเซีย รัสเซีย RU
ประเทศโรมาเนีย โรมาเนีย RO
ประเทศสเปน สเปน E
ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ CH
ประเทศสวีเดน สวีเดน S
สหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา US
ประเทศออสเตรีย ออสเตรีย A
ประเทศอิตาลี อิตาลี I
ประเทศฮังการี ฮังการี H

อนุสัญญาปารีสปี 1924

[แก้]
Volkswagen Golf Mk1 with both International vehicle registration codes, the Åland Islands (AX) and Finland (SF)

ในอนุสัญญาปารีสปี 1924 ได้มีการระบุคำว่า "เครื่องหมายแสดงความแตกต่าง" (distinguishing mark) ขึ้นเป็นครั้งแรก และได้กำหนดสามารถใช้ตัวย่อได้สามตัว และได้ระบุว่าสามารถกำหนดรหัสประจำดินแดนต่าง ๆ ได้ด้วย[5]

รหัสจดทะเบียนรถยนต์ระหว่างประเทศในอนุสัญญาปารีสปี 1924
ประเทศ รหัส
ประเทศกรีซ กรีซ GR[a]
ประเทศกัวเตมาลา กัวเตมาลา G
ประเทศคิวบา คิวบา C
ประเทศโคลอมเบีย โคลอมเบีย CO
ประเทศจีน จีน RC
ประเทศชิลี ชิลี RCH
ประเทศเชโกสโลวาเกีย เชโกสโลวาเกีย CS
ซาร์ (รัฐในอารักขา) ดินแดนลุ่มน้ำซาร์ SA
ราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย ราชอาณาจักรแห่งชาวเซิร์บ โครแอต และสโลวีน SHS
เสรีนครดันท์ซิช ดันท์ซิช DA
ประเทศเดนมาร์ก เดนมาร์ก DK
ประเทศตุรกี ตุรกี TR
ประเทศเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์ NL[a]
หมู่เกาะอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์ ดัชต์อีสต์อินเดีย IN
ประเทศบราซิล บราซิล BR
สหราชอาณาจักร บริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ GB[a]
เกิร์นซีย์ เกิร์นซีย์ GBG
เจอร์ซีย์ เจอร์ซีย์ GBJ
ประเทศมอลตา มอลตา GBY
ยิบรอลตาร์ ยิบรอลตาร์ GBZ
Alderney ออลเดอร์นีย์ GBA
บริติชราช บริติชราช BI
ประเทศบัลแกเรีย บัลแกเรีย BG[a]
ประเทศเบลเยียม เบลเยียม B[a]
ประเทศปานามา ปานามา PY
ประเทศปารากวัย ปารากวัย PA
ประเทศเปรู เปรู PE
ประเทศอิหร่าน เปอร์เซีย PR
ประเทศโปรตุเกส โปรตุเกส P[a]
ประเทศโปแลนด์ โปแลนด์ PL
ประเทศฝรั่งเศส ฝรั่งเศส แอลจีเรีย และตูนิส F[a]
สหพันธรัฐซีเรีย ซีเรียและ ประเทศเลบานอน เลบานอน LSA
French Protectorate in Morocco โมร็อกโก F
ประเทศฝรั่งเศส อินเดียของฝรั่งเศส F
ประเทศฟินแลนด์ ฟินแลนด์ SF
ประเทศเม็กซิโก เม็กซิโก MEX
ประเทศโมนาโก โมนาโก MC[a]
ประเทศเยอรมนี ไรซ์เยอรมัน D[a]
ประเทศโรมาเนีย โรมาเนีย R
ประเทศลักเซมเบิร์ก ลักเซมเบิร์ก L
ประเทศลัตเวีย ลัตเวีย LV
ประเทศลิทัวเนีย ลิทัวเนีย LT
ประเทศลีชเทินชไตน์ ลีชเทินชไตน์ FL
ประเทศสเปน สเปน E[a]
ประเทศไทย สยาม SM
ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ CH[a]
ประเทศสวีเดน สวีเดน S
สหภาพโซเวียต สหภาพโซเวียต SU
สหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา US[a]
ประเทศออสเตรีย ออสเตรีย A[a]
ประเทศอิตาลี อิตาลี I[a]
ประเทศอียิปต์ อียิปต์ ET
ประเทศอุรุกวัย อุรุกวัย U
ประเทศเอกวาดอร์ เอกวาดอร์ EQ
ประเทศเอสโตเนีย เอสโตเนีย EST
ประเทศไอร์แลนด์ เสรีรัฐไอริช SE
ประเทศฮังการี ฮังการี H[a]
ประเทศเฮติ เฮติ RH
  1. 1.00 1.01 1.02 1.03 1.04 1.05 1.06 1.07 1.08 1.09 1.10 1.11 1.12 1.13 1.14 รหัสเดิมจากอนุสัญญาปารีสปี 1909

รหัสที่ใช้ในปัจจุบัน

[แก้]
ประเทศ รหัส เริ่มใช้ รหัสก่อนหน้า หมายเหตุ
ประเทศกรีซ กรีซ GR 1913 ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-2
ประเทศกรีเนดา กรีเนดา WG 1932 อังกฤษ: Windward Islands Grenada
ประเทศกัมพูชา กัมพูชา KH 2009 KHM
K (1956 ― 2009)
อดีตอาณานิคมของฝรั่งเศส
ปัจจุบันมีการระบุตัวอักษร KH บนใบขับขี่ด้วย ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-2
มีการเปลี่ยนจาก K (ก่อนหน้า KHM) เป็น KH ในปี 2009 ไปยังเลขาธิการสหประชาชาติ[6]
ประเทศกัวเตมาลา กัวเตมาลา GCA 1956 G อังกฤษ: Guatemala, Central America
ประเทศกาตาร์ กาตาร์ Q 1972
ประเทศกานา กานา GH 1959 WAC (จนถึง 1957) รหัสเดิมมาจากอังกฤษ: West Africa Gold Coast
ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-2
ประเทศกาบอง กาบอง G 1974 ALEF (จนถึง 1960) รหัสเดิมมาจากฝรั่งเศส: Afrique Équatoriale Française
มีการใช้รหัสอย่างไม่เป็นทางการบนป้ายทะเบียนรถว่า RG
ประเทศกายอานา กายอานา GUY 1972 BRG รหัสเดิมมาจากอังกฤษ: British Guiana
ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-3
ประเทศกินี กินี RG 1972 ฝรั่งเศส: République de Guinée
ถูกใช้อย่างไม่เป็นทางการในกาบองด้วย
ประเทศเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ ROK 1971 อังกฤษ: Republic of Korea
มีการใช้รหัสอย่างไม่เป็นทางการบนป้ายทะเบียนรถว่า KOR ซึ่งมาจากอังกฤษ: Korea
เกิร์นซีย์ เกิร์นซีย์ GBG 1924 GB (1914 ― 1924) อังกฤษ: United Kingdom of Great Britain and Northern Ireland ― Guernsey
ประเทศแกมเบีย แกมเบีย WAG 1932 อังกฤษ: West Africa Gambia
ประเทศโกตดิวัวร์ โกตดิวัวร์ CI 1961 F อดีตอาณานิคมของฝรั่งเศส
ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-2
ประเทศคอซอวอ คอซอวอ RKS 2010 SHS (1919 – 1929)
Y (1929 – 1953)
YU (1953 – 2003)
SCG (2003 – 2006)
SRB (2006 – 2010)
อังกฤษ: Republic of Kosovo
ประเทศคอสตาริกา คอสตาริกา CR 1956 ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-2
ประเทศคาซัคสถาน คาซัคสถาน KZ 1992 SU (จนถึง 1991) ส่วนหนึ่งของอดีตสหภาพโซเวียต
ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-2
ประเทศคิวบา คิวบา CU 1930 ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-2
ประเทศคีร์กีซสถาน คีร์กีซสถาน KG 1992 SU (จนถึง 1991) ส่วนหนึ่งของอดีตสหภาพโซเวียต
รัฐบาลคีร์กีซแจ้งการเปลี่ยนแปลงจาก KS เป็น KG ซึ่งปรากฏบนป้ายทะเบียนรถยนต์ใหม่ตั้งแต่เดือนมีนาคม 2016 ในเดือนสิงหาคมปีเดียวกันนั้นไปยังเลขาธิการสหประชาชาติ[7] อย่างไรก็ตามยานพาหนะส่วนใหญ่จะใช้สติกเกอร์รูปวงรี KGZ แทน KS
ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-2
ประเทศคูเวต คูเวต KWT 1954
ประเทศเคนยา เคนยา EAK 1938 อังกฤษ: East Africa Kenya
เคอร์ดิสถานอิรัก เคอร์ดิสถาน IRQ KR 1991 ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-2
ประเทศแคนาดา แคนาดา CDN 1956 CA อังกฤษ: Canada Dominion[ต้องการอ้างอิง]
ประเทศแคเมอรูน แคเมอรูน CAM 1952 F (ในส่วนของฝรั่งเศส)
WAN (ในส่วนของอังกฤษ)
อดีตอาณานิคมของฝรั่งเศสและอังกฤษ
มีการใช้รหัสอย่างไม่เป็นทางการบนป้ายทะเบียนรถว่า CMR ซึ่งมาจากอังกฤษ: Cameroon
ประเทศโครเอเชีย โครเอเชีย HR 1992 SHS (1919 – 1929)
Y (1929 – 1953)
YU (1953 – 1992)
โครเอเชีย: Hrvatska
ส่วนหนึ่งของอดีตยูโกสลาเวีย โดยทันทีหลังจากการประกาศเอกราชของโครเอเชียในปี 1991 จะพบการใช้สติกเกอร์รูปวงรีพร้อมตัวอักษรอย่างไม่ทางการว่า CRO แม้ว่าในเบื้องต้นคาดว่ารหัสจดทะเบียนรถระหว่างประเทศของโครเอเชียจะเป็น CRO แต่โครเอเชียเลือกใช้ HR (Hrvatska) แทน
ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-2
ประเทศโคลอมเบีย โคลอมเบีย CO 1952 ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-2
ประเทศจอร์เจีย จอร์เจีย GE 1992 SU ส่วนหนึ่งของอดีตสหภาพโซเวียต
ในป้ายทะเบียนเก่าใช้ GEO แทน GE นอกจากนี้ยังใช้อย่างไม่เป็นทางการและผิดกฎหมายโดยอิเควทอเรียลกินี สเปน: Guinea Ecuatorial
ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-2
ประเทศจอร์แดน จอร์แดน HKJ 1966 อังกฤษ: Hashemite Kingdom of Jordan
ประเทศจาเมกา จาเมกา JA 1932
ประเทศจีน จีน CHN ไม่ทราบ อังกฤษ: People's Republic of China
ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-3
เจอร์ซีย์ เจอร์ซีย์ GBJ 1924 GB (1914 ― 1924) อังกฤษ: United Kingdom of Great Britain and Northern Ireland ― Jersey
ประเทศชาด ชาด TCH 1973 ฝรั่งเศส: Tchad
ประเทศชิลี ชิลี RCH 1930 สเปน: República de Chile
ประเทศเช็กเกีย เช็กเกีย CZ 1993 CS รหัสเดิมมาจากเช็ก: Československo
ส่วนหนึ่งของอดีตเชโกสโลวาเกีย
ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-2
ประเทศซานมารีโน ซานมารีโน RSM 1932 อิตาลี: Repubblica di San Marino
ประเทศซามัว ซามัว WS 1962 อิตาลี: Western Samoa
อดีตซามัวตะวันตก
ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-2
ประเทศซาอุดีอาระเบีย ซาอุดีอาระเบีย KSA 1973 SA อังกฤษ: Kingdom of Saudi Arabia
ประเทศซิมบับเว ซิมบับเว ZW 1980 SR
RSR
รหัสเดิมมาจากอังกฤษ: Southern Rhodesia
อดีตเซาเทิร์นโรดีเชีย และโรดีเชีย ไม่ได้รับการยอมรับจนกระทั่งปี 1980
ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-2
ประเทศซีเรีย ซีเรีย SYR 1952 ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-3
ประเทศซูดาน ซูดาน SUD 1963
ประเทศซูรินาม ซูรินาม SME 1936 ในปัจจุบันใช้รหัส SUR บนใบขับขี่
ประเทศเซเชลส์ เซเชลส์ SY 1938
ประเทศเซนต์ลูเชีย เซนต์ลูเชีย WL 1932 อังกฤษ: Windward Islands Saint Lucia
ประเทศเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ เซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ WV 1932 อังกฤษ: Windward Islands Saint Vincent
ประเทศเซเนกัล เซเนกัล SN 1962 ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-2
แซนซิบาร์ แซนซิบาร์ SRB 1964 อังกฤษ: East Africa Zanzibar
ประเทศแซมเบีย แซมเบีย Z 1964 RNR รหัสเดิมมาจากอังกฤษ: Northern Rhodesia
อดีตนอร์เทิร์นโรดีเชีย
อย่างไรก็ตาม ในปัจจุบันมีการใช้รหัส ZM ในใบขับขี่
โซมาเลีย โซมาเลีย SO 1974 SP รหัสเดิมมาจากอังกฤษ: Somaliland Protectorate
ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-2
ประเทศไซปรัส ไซปรัส CY 1932 ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-2
ประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น J 1964
ประเทศเดนมาร์ก เดนมาร์ก DK 1914 ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-2
ประเทศดอมินีกา ดอมินีกา WD 1954 อังกฤษ: Windward Islands Saint Dominica
ประเทศตรินิแดดและโตเบโก ตรินิแดดและโตเบโก TT 1964 ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-2
ประเทศตองงา ตองงา TO 1995 ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-2
ประเทศตุรกี ตุรกี TR 1923 ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-2
ประเทศตูนิเซีย ตูนีเซีย TN 1957 F (จนถึง 1956) อดีตอาณานิคมของฝรั่งเศส
ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-2
มีการใช้รหัสโดยทั่วไปอย่างไม่เป็นทางการว่า TU
ประเทศเติร์กเมนิสถาน เติร์กเมนิสถาน TM 1992 SU (จนถึง 1991) ส่วนหนึ่งของอดีตสหภาพโซเวียต
ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-2
ประเทศโตโก โตโก TG 1973 RT รหัสเดิมมาจากฝรั่งเศส: République Togolaise
ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-2
ประเทศไต้หวัน ไต้หวัน RC 1932 อังกฤษ: Republic of China
ยังใช้อย่างไม่เป็นทางการในสาธารณรัฐคองโก (ฝรั่งเศส: République du Congo)
ประเทศทาจิกิสถาน ทาจิกิสถาน TJ 1992 SU (จนถึง 1991) ส่วนหนึ่งของอดีตสหภาพโซเวียต
เคยใช้รหัส PT (ทาจิก: Республика Таджикистан) บนป้ายทะเบียนในช่วง 1993 ― 2003
ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-2
ประเทศแทนซาเนีย แทนซาเนีย EAT 1938 EAT & EAZ อังกฤษ: East Africa Tanzania
อดีตแทนกันยีกาและแซนซิบาร์
ประเทศไทย ไทย T 1955 SM รหัสเดิมมาจากอังกฤษ: Siam
นครรัฐวาติกัน นครรัฐวาติกัน V 1931 มีการใช้รหัส CV (อิตาลี: Città del Vaticano) ในเลขทะเบียนรถยนต์
รหัสรถยนต์ที่ใช้สำหรับพาหนะของทางการและรัฐบาล SCV (ละติน: Status Civitatis Vaticanae)
ประเทศมาซิโดเนียเหนือ นอร์ทมาซิโดเนีย NMK 2019 YU (จนถึง 1992)
MK (1992 – 2019)
ส่วนหนึ่งของอดีตยูโกสลาเวีย
รหัสเดิมมาจากมาซิโดเนีย: Makedonia ใช้จนถึงปี 2019
ปัจจุบันรหัสผสมจากภาษาอังกฤษและภาษามาซิโดเนีย
ประเทศนอร์เวย์ นอร์เวย์ N 2019
ประเทศนามิเบีย นามิเบีย NAM 1990 SWA รหัสเดิมมาจากอังกฤษ: South West Africa
ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-2
ประเทศนาอูรู นาอูรู NAU 1968
ประเทศนิการากัว นิการากัว NIC 1952 ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-3
ประเทศนิวซีแลนด์ นิวซีแลนด์ NZ 1958 ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-2
ประเทศเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์ NL 1910 ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-2
ประเทศเนปาล เนปาล NEP 1970
ประเทศไนจีเรีย ไนจีเรีย WAN 1937 อังกฤษ: West Africa Nigeria
ประเทศไนเจอร์ ไนเจอร์ RN 1977 AOF (จนถึง 1960; 1960 − 1977)
NIG (ไม่ทราบ)
ฝรั่งเศส: République du Niger
รหัสเดิมมาจากฝรั่งเศส: Afrique Occidentale Française
รหัส NIG ยังถูกระบุอยู่ในรายชื่อของสหประชาชาติ
ประเทศบราซิล บราซิล BR 1930 ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-2
ประเทศบรูไน บรูไน BRU 1956
บอตสวานา บอตสวานา BW 2003 BP
RB
ประกาศใช้อย่างเป็นทางการในปี 2003
รหัสเดิมมาจากอังกฤษ: Bechuanaland Protectorate และอังกฤษ: Republic of Botswana
ประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา BIH 1992 SHS (1919 – 1929)
Y (1929 – 1953)
YU (1953 – 1992)
บอสเนีย: Bosna i Hercegovina
ส่วนหนึ่งของอดีตยูโกสลาเวีย
ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-3
ประเทศบังกลาเทศ บังกลาเทศ BD 1978 PAK อดีตปากีสถานตะวันออก
ประเทศบัลแกเรีย บัลแกเรีย BG 1910 ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-2
บาร์เบโดส บาร์เบโดส BDS 1956
ประเทศบาห์เรน บาห์เรน BRN 1954
ประเทศบาฮามาส บาฮามาส BS 1950
ประเทศบุรุนดี บุรุนดี RU 1960 ฝรั่งเศส: Ruanda-Urundi
อดีตอาณานิคมของเบลเยียม
มีการใช้รหัสอย่างไม่เป็นทางการบนป้ายทะเบียนรถว่า BU
ประเทศบูร์กินาฟาโซ บูร์กินาฟาโซ BF 1990 RHV
HV
มีการใช้จนถึงเดือนสิงหาคมปี 2003
รหัสเดิมมาจากฝรั่งเศส: République de Haute-Volta และฝรั่งเศส: Haute-Volta
ประเทศเบนิน เบนิน DY 1910 AOF (จนถึง 1960) มาจากชื่อเดิมในฝรั่งเศส: Dahomey ซึ่งใช้ถึงปี 1975
ปัจจุบันใช้รหัสอย่างไม่เป็นทางการว่า RB (ฝรั่งเศส: République du Bénin)
ประเทศเบลเยียม เบลเยียม B 1910
ประเทศเบลารุส เบลารุส BY 1992 (2004) มาจากชื่อเดิมในอังกฤษ: Byelorussia
สหประชาชาติได้รับแจ้งอย่างเป็นทางการเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงจาก SU เป็น BY ในปี 2004[ต้องการอ้างอิง]
ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-2
ประเทศเบลีซ เบลีซ BH 1938 มาจากชื่อเดิมในอังกฤษ: British Honduras ใช้จนถึงเดทอนมิถุนายน ปี 2024 ใบขับขี่ใหม่จะใช้รหัสใหม่ว่า BZ[8]
ประเทศโบลิเวีย โบลิเวีย BOL 1967 ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-3
ประเทศปากีสถาน ปากีสถาน PK 1947 ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-2
ประเทศปานามา ปานามา PA 1952 PY (1924 – 1952) ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-2
ประเทศปาปัวนิวกินี ปาปัวนิวกินี PNG 1978 ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-3
ประเทศปารากวัย ปารากวัย PY 1952 PA (1924 – 1952) ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-2
ประเทศเปรู เปรู PE 1937 ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-2
ประเทศโปรตุเกส โปรตุเกส P 1910 มีการใช้อย่างไม่เป็นทางการในปาเลสไตน์[9]
ประเทศโปแลนด์ โปแลนด์ PL 1921 ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-2
ประเทศฝรั่งเศส ฝรั่งเศส F 1910
ประเทศฟินแลนด์ ฟินแลนด์ FIN 1993 SF รหัสเดิมมาจากฟินแลนด์: Suomi และสวีเดน: Finland
ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-3
ประเทศฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์ RP 1975 ฟิลิปปินส์: Republika ng Pilipinas
ประเทศฟีจี ฟีจี FJI 1971 ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-3
ประเทศมองโกเลีย มองโกเลีย MGL 2002 MNG แสดงบนป้ายทะเบียนรถในปัจจุบัน อย่างไรก็ตาม รูปแบบใหม่นี้ยังรวม MGL อีกครั้ง[10]
ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-3
ประเทศมอนเตเนโกร มอนเตเนโกร MNE 2006 MN 1913–1919
SHS 1919–29
Y 1929–53
YU 1953–2003
SCG 2003–2006
ส่วนหนึ่งของอดีตยูโกสลาเวีย เคยเป็นประเทศเอกราช จนถึงปี 1918 กลับมามีเอกราชในปี 2006
ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-3
ประเทศมอริเชียส มอริเชียส MS 1938
ประเทศมอริเตเนีย มอริเตเนีย RIM 1964 ฝรั่งเศส: République islamique de Mauritanie
ประเทศมอลโดวา มอลโดวา MD 1992 SU (จนถึง 1991) ส่วนหนึ่งของอดีตสหภาพโซเวียต
ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-2
ประเทศมอลตา มอลตา M 1966 GBY (1924 – 66)
ประเทศมัลดีฟส์ มัลดีฟส์ MV 1965 ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-2
ประเทศมาดากัสการ์ มาดากัสการ์ RM 1962 ฝรั่งเศส: République de Madagascar
ประเทศมาลาวี มาลาวี MW 1965 EA (1932 – 1938)
NP (1938 – 1970)
RNY (ทางเลือก 1960 – 65)
รหัสเดิมมาจากชื่อในอังกฤษ: Nyasaland Protectorate
ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-2
ประเทศมาลี มาลี RMM 1962 AOF (จนถึง 1960) ฝรั่งเศส: République du Mali โดยเพิ่ม M มาตัวหนึ่งเพื่อไม่ให้ซ้ำกับรหัสของมาดากัสการ์
อดีตอาณานิคมของฝรั่งเศส
ประเทศมาเลเซีย มาเลเซีย MAL 1967 PRK (จนถึง 1957)
FM (1954 – 1957)
PTM (1957 – 1967)
เดิมมาจากรหัสของรัฐเประ (อังกฤษ: Perak) ต่อมาใช้ชื่อทางการของประเทศในอังกฤษ: Federated Malay States ต่อมาใช้มลายู: Persekutuan Tanah Melayu
ประเทศเม็กซิโก เม็กซิโก MEX 1952 ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-3
ประเทศพม่า เมียนมา MYA 2019 BA
BUR
รหัสเดิมมาจากอังกฤษ: Burma
ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-2
ประเทศโมซัมบิก โมซัมบิก MOC 1975 MOC (1932 – 1956)
P (1957 – 1975)
โปรตุเกส: Moçambique
อดีตอาณานิคมของโปรตุเกส
ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-3
ประเทศโมนาโก โมนาโก MC 1910 ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-2
ประเทศโมร็อกโก โมร็อกโก MA 1924 ฝรั่งเศส: Maroc
ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-2
ยิบรอลตาร์ ยิบรอลตาร์ GBZ 1924 GB (1914 ― 1924) อังกฤษ: United Kingdom of Great Britain and Northern Ireland ― Gibraltar (เนื่องจากตัว G ถูกใช้สำหรับเกิร์นซีย์ จึงใช้ตัว Z แทน)
ประเทศยูกันดา ยูกันดา EAU 1938 อังกฤษ: East Africa Uganda
ประเทศยูเครน ยูเครน UA 1992 SU (จนถึง 1991) ส่วนหนึ่งของอดีตสหภาพโซเวียต
ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-2
ประเทศเยเมน เยเมน YAR 1960 รหัสมาจากอังกฤษ: Yemen Arab Republic ซึ่งมาจากชื่อเดิมของเยเมนเหนือ
ประเทศเยอรมนี เยอรมนี D 1910 เยอรมัน: Deutschland
มีการใช้ในอดีตเยอรมนีตะวันออกจนถึงปี 1974 ก่อนจะเปลี่ยนไปใช้ DDR ซึ่งใช้จนรวมประเทศกันในปี 1990
ประเทศรวันดา รวันดา RWA 1964 RU (จนถึง 1962) อดีตอาณานิคมของเบลเยียม
ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-3
ประเทศรัสเซีย รัสเซีย RUS 1992 SU (จนถึง 1991) ส่วนหนึ่งของอดีตสหภาพโซเวียต
ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-3
ประเทศโรมาเนีย โรมาเนีย RO 1981 R (จนถึง 1981) ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-2
ประเทศลักเซมเบิร์ก ลักเซมเบิร์ก L 1911
ประเทศลัตเวีย ลัตเวีย LV 1992 LR (1927 – 1940)
SU (1940 – 1991)
รหัสเดิมมาจากลัตเวีย: Latvijas Republika
ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-2
ประเทศลาว ลาว LAO 1959 F (จนถึง 1949) อดีตอาณานิคมของฝรั่งเศส
ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-3
ประเทศลิทัวเนีย ลิทัวเนีย LT 1992 SU (1940 – 1991) ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-2
ประเทศลิเบีย ลิเบีย LAR 1972 I (จนถึง 1949)
LT
อังกฤษ: Libyan Arab Republic
มีการใช้รหัสอย่างไม่เป็นทางการบนป้ายทะเบียนรถว่า LY
ประเทศลีชเทินชไตน์ ลีชเทินชไตน์ FL 1923 เยอรมัน: Fürstentum Liechtenstein
ประเทศเลโซโท เลโซโท LS 1967 BL รหัสเดิมมาจากอังกฤษ: Basutoland
ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-2
ประเทศเลบานอน เลบานอน RL 1952 ฝรั่งเศส: République Libanaise
ประเทศไลบีเรีย ไลบีเรีย LB 1967
ประเทศเวเนซุเอลา เวเนซุเอลา YV 1955
ประเทศเวียดนาม เวียดนาม VN 1953 ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-2
ประเทศศรีลังกา ศรีลังกา CL 1961 รหัสมาจากอังกฤษ: Ceylon ซึ่งมาจากชื่อเดิมของศรีลังกา อย่างไรก็ตาม ได้เริ่มมีการใช้รหัส SL ในใบขับขี่
ประเทศสเปน สเปน E 1910 สเปน: España
ประเทศสโลวาเกีย สโลวาเกีย SK 1993 CS (1919 – 1939, 1945 – 1992)
SQ (1939 – 1945)
รหัสเดิมมาจากสโลวัก: Československo และฝรั่งเศส: Slovaquie
ส่วนหนึ่งของอดีตเชโกสโลวาเกีย
ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-2
ประเทศสโลวีเนีย สโลวีเนีย SLO 1992 SHS (1919 – 1929)
Y (1929 – 1953)
YU (1953 – 1992)
ส่วนหนึ่งของอดีตยูโกสลาเวีย
ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ CH 1911 ละติน: Confœderatio Helvetica
ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-2
ประเทศสวีเดน สวีเดน S 1911
สหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา USA 1952 US ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-3
รหัส US ใช้ในป้ายทะเบียนของกองกำลังสหรัฐฯ ในเยอรมนีตั้งแต่ปี 1962 จนถึงปี 2020 ส่วนกองกำลังสหรัฐฯในหมู่เกาะอะโซร์สใช้ U
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ UAE 1971
สหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักร UK 2021 GB (1910 – 2021) รหัสเดิมมีการใช้ตั้งแต่สมัยสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ จนถึงวันที่ 28 กันยายน 2021 ได้เปลี่ยนมาใช้รหัส UK โดยไม่มีผลกับรหัสของดินแดนอื่น ๆ ที่อยู่ภายใต้อาณัติของสหราชอาณาจักร[11][12]
สาธารณรัฐคองโก สาธารณรัฐคองโก RCB 1962 ฝรั่งเศส: République du Congo Brazzaville
มีการใช้รหัสโดยทั่วไปอย่างไม่เป็นทางการว่า RC
สาธารณรัฐโดมินิกัน สาธารณรัฐโดมินิกัน DOM 1952 ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-3
สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก CGO 1997 CB
RCL
ZRE
รหัสเดิมมาจากฝรั่งเศส: Congo Belge, ฝรั่งเศส: République de Congo Léopoldville และฝรั่งเศส: Zre
สาธารณรัฐแอฟริกากลาง สาธารณรัฐแอฟริกากลาง RCA 1962 ฝรั่งเศส: République Centrafricaine
ประเทศสิงคโปร์ สิงคโปร์ SGP 1952 ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-3
หมู่เกาะแฟโร หมู่เกาะแฟโร FO 1996 แฟโร: royar
ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-2
หมู่เกาะบริติชเวอร์จิน หมู่เกาะเวอร์จินของอังกฤษ BVI 1910
Alderney ออลเดอร์นีย์ GBA 1924 GB (1923 – 1924) อังกฤษ: United Kingdom of Great Britain and Northern Ireland ― Alderney
ประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย AUS 1954 ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-3
ประเทศออสเตรีย ออสเตรีย A 1911 อังกฤษ: Austria
ฝรั่งเศส: Autriche
ประเทศอันดอร์รา อันดอร์รา AND 1957 ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-3
ประเทศอัฟกานิสถาน อัฟกานิสถาน AFG 1971 ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-3
ประเทศอาเซอร์ไบจาน อาเซอร์ไบจาน AZ 1993 SU (จนถึง 1991) ส่วนหนึ่งของอดีตสหภาพโซเวียต
ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-2
ประเทศอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา RA 1927 สเปน: República Argentina
ประเทศอาร์มีเนีย อาร์เมเนีย AM 1992 SU (จนถึง 1991) ส่วนหนึ่งของอดีตสหภาพโซเวียต
ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-2
ประเทศอิตาลี อิตาลี I 1910
ประเทศอินเดีย อินเดีย IND 1947 BI (จนถึง 1991) รหัสเดิมมาจากอังกฤษ: British India
อดีตอาณานิคมของอังกฤษ
ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-3
ประเทศอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย RI 1955 อินโดนีเซีย: Republik Indonesia
ประเทศอิรัก อิรัก IRQ 1930 ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-3
ประเทศอิสราเอล อิสราเอล IL 1952 มีการใช้คำว่า "อิสราเอล" (ישראל) ในภาษาฮิบรู และภาษาอาหรับ (إسرائيل) บนป้ายทะเบียนรถ
ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-2
ประเทศอิหร่าน อิหร่าน IR 1936 PR รหัสเดิมมาจากอังกฤษ: Persia
ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-2
ประเทศอียิปต์ อียิปต์ EG 2024 ET (1927 – 2024) รหัสเดิมมาจากอังกฤษ: Egypt
ประเทศอุซเบกิสถาน อุซเบกิสถาน UZ 1992 SU (จนถึง 1991) ส่วนหนึ่งของอดีตสหภาพโซเวียต
ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-2
ประเทศอุรุกวัย อุรุกวัย ROU 1981 U (1926 – 1981) สเปน: República Oriental del Uruguay
ประเทศเอกวาดอร์ เอกวาดอร์ EC 1962 EQ รหัสเดิมมาจากฝรั่งเศส: Équateur
ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-2
ประเทศเอธิโอเปีย เอธิโอเปีย ETH 1964 AOI (จนถึง 1941) รหัสเดิมมาจากอิตาลี: Africa Orientale Italiana
ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-3
ประเทศเอริเทรีย เอริเทรีย ER 1993 AOI รหัสเดิมมาจากอิตาลี: Africa Orientale Italiana
ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-2
ประเทศเอลซัลวาดอร์ เอลซัลวาดอร์ ES 1978
ประเทศเอสโตเนีย เอสโตเนีย EST 1993 EW (1919 – 1940, 1991 – 1993)
SU (1940 – 1991)
รหัสเดิมมาจากการเขียนแบบเก่าของเอสโตเนีย: Eesti Wabariik
ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-3
ประเทศเอสวาตินี เอสวาตินี SD 1935 รหัสมาจากอังกฤษ: Swaziland ซึ่งมาจากชื่อเดิม
ประเทศแอฟริกาใต้ แอฟริกาใต้ ZA 1936 ดัตช์: Zuid-Afrika
ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-2
ประเทศแอลจีเรีย แอลจีเรีย DZ 1962 F (จนถึง 1911) Djazayer
อดีตอาณานิคมของฝรั่งเศส
ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-2
ประเทศแอลเบเนีย แอลเบเนีย AL 1934 ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-2
ประเทศโอมาน โอมาน OM ไม่ทราบ ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-2
ไอซ์แลนด์ ไอซ์แลนด์ IS 1936 ไอซ์แลนด์: Ísland
ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-2
ประเทศไอร์แลนด์ ไอร์แลนด์ IRL 1992 GB (1910 – 1924)
SE (1924 – 1938)
EIR (1938 – 1962)
EIR/IRL (1962 – 1992)
รหัสเดิมมาจากไอริช: Saorstát Éireann และไอริช: Éire
เคยเป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร
ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-3
ไอล์ออฟแมน ไอล์ออฟแมน GBM 1932 อังกฤษ: United Kingdom of Great Britain and Northern Ireland ― Isle of Man
ฮ่องกง ฮ่องกง HK 1961 ฮ่องกงยังคงอยู่ในรายชื่อรหัสของสหประชาชาติ แม้จะถูกผนวกกลับเข้าเป็นสาธารณรัฐประชาชนจีนในปี 1997 แต่ยังมีอำนาจปกครองตนเองอย่างแข็งแกร่ง[13]
ประเทศฮอนดูรัส ฮอนดูรัส HN 2018 ไม่เป็นทางการ เนื่องจากไม่พบรหัสอื่น ๆ ของฮอนดูรัส
ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-2
ประเทศฮังการี ฮังการี H 1910
ประเทศเฮติ เฮติ RH 1952 [République d'Haïti] ข้อผิดพลาด: {{Lang-xx}}: ข้อความมีมาร์กอัปผิดรูปแบบ (ช่วยเหลือ)

รหัสที่ไม่มีการใช้แล้ว

[แก้]
ประเทศ รหัส ใช้จนถึง แทนที่โดย หมายเหตุ
กรีนแลนด์ กรีนแลนด์ GRO 1910 KN เดนมาร์ก: Grønland
กรีนแลนด์: Kalaallit Nunaat
ไม่เป็นทางการ รหัสอย่างเป็นทางการคือ DK
ประเทศกัมพูชา กัมพูชา K 2009 KH ได้รับการรับรองโดยสหประชาชาติให้เป็น KH เมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2009[14]
ประเทศคีร์กีซสถาน คีร์กีซสถาน KS 1992 ― 2016 KG ได้รับการรับรองจากองค์การสหประชาชาติให้เป็น KG ในเดือนมีนาคม 2016
ประเทศแคนาดา แคนาดา CA 1956 CDN
ประเทศเชโกสโลวาเกีย เชโกสโลวาเกีย CS 1992 CZ, SK แยกออกเป็นเช็กเกียและสโลวาเกีย
ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-2
ซาร์ (รัฐในอารักขา) ดินแดนลุ่มน้ำซาร์ SA 1926 – 1935 D ดินแดนในอาณัติของสันนิบาตชาติ ส่งคืนให้เยอรมนีในปี 1935
ซาร์ (รัฐในอารักขา) รัฐในอารักขาซาร์ SA 1947 – 1956 D รัฐในอารักขาของฝรั่งเศส ปัจจุบันคือรัฐซาร์ลันด์ในประเทศเยอรมนี
สาธารณรัฐซาอีร์ ซาอีร์ ZRE 1997 CGO ปัจจุบันคือสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก
ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-3
ประเทศซาอุดีอาระเบีย ซาอุดีอาระเบีย SA ไม่ทราบ KSA ไม่ทราบวันที่มีการเปลี่ยนแปลง
ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-2
ประเทศเซอร์เบีย ราชอาณาจักรเซอร์เบีย SB 1919 SHS เซอร์เบียกลายเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักรแห่งชาวเซิร์บ โครแอต และสโลวีน
ราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย ราชอาณาจักรแห่งชาวเซิร์บ โครแอต และสโลวีน SHS 1929 Y บอสเนีย-โครเอเชีย-มอนเตเนโกร-เซอร์เบีย: Kraljevina Srba, Hrvata i Slovenaca
ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็นยูโกสลาเวีย
ประเทศเซอร์เบียและมอนเตเนโกร เซอร์เบียและมอนเตเนโกร SCG 2006 MNE, SRB เซอร์เบีย: Srbija i Crna Gora
แยกออกเป็นเซอร์เบียและมอนเตเนโกร
ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-3
ประเทศแซมเบีย แซมเบีย RNR ไม่ทราบ Z? ZM? อดีตโรดีเชียเหนือ แต่ยังมีรหัส RNR อยู่ในรายชื่อของสหประชาชาติ (ข้อมูล ณ เดือนพฤษภาคม 2024)
British Somaliland โซมาลีแลนด์ SP 1960 SO อังกฤษ: Somaliland Protectorate
เสรีนครดันท์ซิช เสรีนครดันท์ซิช DA 1939 D (1939 – 1945)
PL (ตั้งแต่ 1945)
เยอรมัน: Danzig
ปัจจุบันคือเมืองกดัญสก์ในประเทศโปแลนด์
ดินแดนเสรีตรีเยสเต ดินแดนเสรีตรีเยสเต TS 1947 – 1954 ปัจจุบันคือส่วนหนึ่งของอิตาลี, สโลวีเนีย และโครเอเชีย
ประเทศโตโก โตโก RT 1973 TG ฝรั่งเศส: République Togolaise
อดีตโตโกแลนด์ของฝรั่งเศส จนถึง 1960
ประเทศเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์แอนทิลลีส NA 1957 เนเธอร์แลนด์แอนทิลลีสได้ยุบตัวลงในปี 2010
ประเทศไนเจอร์ ไนเจอร์ NIG ไม่ทราบ RN ยังคงมีรหัส NIG อยู่ในรายชื่อของสหประชาชาติ[15]
Bechuanaland Protectorate เบชวานาแลนด์ BP 1966 BW ปัจจุบันคือ บอตสวานา
ประเทศพม่า พม่า BA 1956 BUR ตั้งแต่ปี 1937
ประเทศพม่า เมียนมา BUR 2019 MYA แจ้งเปลี่ยนแปลงเมื่อปี 1982 และให้สัตยาบันเมื่อปี 2019[16]
ประเทศฟินแลนด์ ฟินแลนด์ SF 1993 FIN SF มาจากฟินแลนด์: Suomi และสวีเดน: Finland ซึ่งเป็นภาษาราชการของประเทศ
ประเทศฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์ PI 1973? RP ฟิลิปปินส์: Pilipinas
ยังมีรหัส PI อยู่ในรายชื่อของสหประชาชาติ
ประเทศมอลตา มอลตา GBY 1966 M เปลี่ยนแปลงหลังจากได้รับเอกราชจากสหราชอาณาจักร
ประเทศมาซิโดเนียเหนือ อดีตสาธารณรัฐยูโกสลาฟมาซิโดเนีย MK 1992 – 2019 NMK เปลี่ยนชื่อเป็นนอร์ทมาซิโดเนีย
ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-2
สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย ยูโกสลาเวีย Y 1953 YU
สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย / สหพันธ์สาธารณรัฐยูโกสลาเวีย ยูโกสลาเวีย YU 1956 BIH, HR, NMK, MNE, RKS, SRB, SLO ปัจจุบันคือคอซอวอ โครเอเชีย เซอร์เบีย นอร์ทมาซิโดเนีย บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา มอนเตเนโกร และสโลวีเนีย
นอร์ทมาซิโดเนีย ใช้รหัส MK ตั้งแต่ปี 1993 ถึง 2019
ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-2
สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเยเมน เยเมนใต้ Y 1990 YAR รวมประเทศกับเยเมนเหนือ ในปี 1990
ประเทศเยอรมนีตะวันออก สาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมัน DDR 1990 D เยอรมัน: Deutsche Demokratische Republik ใช้ตั้งแต่ปี 1974 (ก่อนหน้าใช้ D)
ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-3
โรดีเชียใต้ โรดีเชียใต้ RSR 1965 – 1979 SR ปัจจุบันคือ ซิมบับเว
Federation of Rhodesia and Nyasaland สหพันธรัฐโรดีเชียและนยาซาแลนด์ RNY 1953 – 1963 NP, NR, SR ปัจจุบันคือซิมบับเว, แซมเบีย และมาลาวี
ประเทศโรมาเนีย โรมาเนีย R 1981 RO
ประเทศลัตเวีย ลัตเวีย LR 1927 – 1940 SU, LV ลัตเวีย: Latvijas Republika
สหภาพโซเวียต สหภาพโซเวียต SU 1991 EST, LT, LV, BY, MD, UA, TJ, TM, GE, KZ, UZ, KS, AZ, AM, RUS ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-2
สหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักร GB 2021 UK เปลี่ยนเป็น UK เพื่อรวมไอร์แลนด์เหนือ
ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-2
หมู่เกาะแฟโร หมู่เกาะแฟโร FR 1996 FO อังกฤษ: Faroe Islands
สาธารณรัฐอัปเปอร์วอลตา อัปเปอร์วอลตา HV 1984 BF ฝรั่งเศส: Haute-Volta
ปัจจุบันคือบูร์กินาฟาโซ
ตรงกับรหัส ISO 3166-1 alpha-2
ประเทศอียิปต์ อียิปต์ ET 2024 EG ให้สัตยาบันต่อองค์การสหประชาชาติในปี 2024
อาณานิคมเอเดน เอเดน ADN 1980 Y ตั้งแต่ปี 1938 ต่อมาคือสหพันธรัฐอาระเบียใต้ (1962 – 1967) และสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเยเมน (1967 – 1990)
ประเทศเอสโตเนีย เอสโตเนีย EW 1993 EST เอสโตเนีย: Eesti Wabariik
ประเทศโปรตุเกส แองโกลาของโปรตุเกส PANG 1956 P (1957 – 1975) ตั้งแต่ปี 1932
อดีตอาณานิคมของโปรตุเกส ปัจจุบันยังไม่มีการให้สัตยาบัน
South West Africa แอฟริกาตะวันตกเฉียงใต้ SWA 1990 NAM ปัจุจบันคือนามิเบีย
ประเทศไอร์แลนด์ แอรา EIR 1992 IRL ปัจจุบันใช้ชื่อว่าไอร์แลนด์

ดูเพิ่มเติม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "สติ๊กเกอร์ระบุประเทศ ไอเทมที่มักติดอยู่หลังรถในอดีต".
  2. "1909 Paris Convention for the International Circulation of Motor Vehicles" (PDF).
  3. "International Convention Relative to Motor Traffic, Paris, 1924".
  4. "1909 Paris Convention for the International Circulation of Motor Vehicles" (PDF).
  5. "International Convention Relative to Motor Traffic, Paris, 1924".
  6. "United Nations Treaty Collection".
  7. "Convention sur la circulation routière, signée à Vienne, le 8 novembre 1968 - Notification en vertu du paragraphe 4 de l'article 45 par le Kirghizistan. - Legilux". legilux.public.lu. สืบค้นเมื่อ 2021-10-28.
  8. "Driver's license will have a new look". Love FM (ภาษาอังกฤษ). 2019-07-22. สืบค้นเมื่อ 2021-12-20.[ลิงก์เสีย]
  9. "License Plates of Palestine".
  10. "Discussions of Mongolian license plates / Дискуссии по монгольским номерам". 18 June 2009.
  11. Griffiths, Hugo (5 July 2021). "GB stickers no longer valid for driving abroad". autoexpress.co.uk. สืบค้นเมื่อ 5 July 2021.
  12. "Convention on Road Traffic Vienna, 8 November 1968: United Kingdom of Great Britain and Northern Ireland: Notification under Article 45 (4)" (PDF).
  13. "United Nations Treaty Collection".
  14. "United Nations Treaty Collection".
  15. "United Nations Treaty Collection".
  16. https://treaties.un.org/Pages/ViewDetailsIII.aspx?src=TREATY&mtdsg_no=XI-B-19&chapter=11&Temp=mtdsg3&clang=_en#20

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]