ข้ามไปเนื้อหา

รถไฟใต้ดินเซี่ยงไฮ้ สาย 1

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
รถไฟใต้ดินเซี่ยงไฮ้ สาย 1
ข้อมูลทั่วไป
ชื่อลำลอง上海地铁1号线
สถานะเปิดให้บริการ
ที่ตั้งเซี่ยงไฮ้
ปลายทาง
จำนวนสถานี28
การดำเนินงาน
รูปแบบรถไฟใต้ดิน
ผู้ดำเนินงานShanghai No.1 Metro Operation Co. Ltd.
ผู้โดยสารต่อวัน1,370,000 คน (2013)[1]
ประวัติ
เปิดเมื่อ28 พฤษภาคม ค.ศ. 1993
ข้อมูลทางเทคนิค
ระยะทาง36.39 km (22.61 mi)[2]
จำนวนทางวิ่ง2
ลักษณะทางวิ่งใต้ดิน, ยกระดับ
รางกว้าง1,435 mm (4 ft 8 12 in)
ระบบจ่ายไฟเหนือหัว
ความเร็ว80 km/h (50 mph)[3]
แผนที่เส้นทาง
Line 1

รถไฟใต้ดินเซี่ยงไฮ้ สาย 1 เป็นเส้นทางรถไฟฟ้าสายแรกของระบบรถไฟใต้ดินเซี่ยงไฮ้ เปิดให้บริการในปี ค.ศ. 1993 ต้นทางจากสถานีถนนฟูจิน ผ่านทาง สถานีรถไฟเซี่ยงไฮ้ (รถไฟใต้ดิน) ปลายทางสถานีซินจวง รถไฟฟ้า 8 คันต่อขบวน เป็นเส้นทางรถไฟฟ้าที่มีผู้โดยสารและได้กำไรมากที่สุด[4]

รายชื่อสถานี

[แก้]
สถานี
เชื่อมต่อ
เขตที่ตั้ง
สถานีซินจวง 莘庄  5   22  เขตหมิ่นหัง
สถานีไว่ฮว๋านลู่ 外环路
สถานีถนนเหลียนฮวา 莲花路
สถานีสวนสนุกจิ่นเจียง 锦江乐园 เขตสวีฮุ่ย
สถานีเซี่ยงไฮ้ใต้ 上海南站  3   22 * สถานีรถไฟเซี่ยงไฮ้ใต้
สถานีถนนเฉาเป่า 漕宝路  12 
สถานีสนามกีฬาเซี่ยงไฮ้ 上海体育馆  4 
สถานีสวีเจียฮุ่ย 徐家汇  9   11 
สถานีถนนเหิงชาน 衡山路
สถานีถนนฉางสู 常熟路  7 
สถานีถนนช่านซีใต้ 陕西南路  10  12  เขตฮว๋างเปย
สถานีถนนฮว๋างเปยใต้ 黄陂南路
สถานีจัตุรัสประชาชน 人民广场  2  8 
สถานีถนนซินเจี๋ย 新闸路
สถานีถนนหันจง 汉中路  12  13  เขตเจี๋ยเป่ย
สถานีเซี่ยงไฮ้ 上海火车站  3 * 4 * สถานีรถไฟเซี่ยงไฮ้
* = out-of-system transfer
สถานีถนนจงชานเหนือ 中山北路
สถานีถนนเหยียนฉาง 延长路
สถานีวงเวียนเซี่ยงไฮ้ 上海马戏城
สถานีถนนเหวินสุ่ย 汶水路
สถานีเผิงพู่ซินชุน 彭浦新村
สถานีถนนกงคัง 共康路
สถานีทงเหอซินชุน 通河新村 เขตเป่าชาน
สถานีถนนฮูหลัน 呼兰路
สถานีก้งฟู่ซินคชุน 共富新村
สถานีทางหลวงเป่าอัน 宝安公路
สถานีถนนโหย่วอี๋ตะวันตก 友谊西路
สถานีถนนฟู่จิ่น 富锦路

รถไฟฟ้า

[แก้]
ประเภท ผลิตเมื่อ รุ่น จำนวนคันต่อขบวน การพ่วง ผู้ผลิต
Type A 1992–1994 DC01B 10 Tc+Mp+M+Mp+M+Mp+M+Tc ADtranz และ ซีเมนส์
Type A 1992–1994 DC01C 5 Tc+Mp+M+Mp+M+Mp+M+Tc ซีเมนส์ และ CSR Zhuzhou
Type A 1998–1999 AC01A 8 Tc+Mp+M+Mp+M+Mp+M+Tc ซีเมนส์
Type A 1998–2001 AC01B 12 Tc+M+Mp+M+Mp+M+Mp+Tc ซีเมนส์ และ CSR Zhuzhou
Type A 2006–2007 AC06 16 Tc+Mp+M+Mp+M+Mp+M+Tc Shanghai Electric, CSR Puzhen และ อัลสตอม

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Ridership". Shanghai Metro. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-09-01. สืบค้นเมื่อ 2013-04-21.
  2. "Operations Overview". Shanghai Metro Operation Co, Ltd. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-08-31. สืบค้นเมื่อ 2007-09-24.
  3. "Shanghai Metro Lines 1 & 2". Movia. Bombardier. สืบค้นเมื่อ 2007-10-14.[ลิงก์เสีย]
  4. "Experts fear subway costs could go off the rails". China Daily. สืบค้นเมื่อ 2012-11-29.