รถไฟฟ้าปารีส สาย 1

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
สาย 1
Métro ligne 1
Bastille metro automatique II.JPG
เปิดให้บริการ พ.ศ. 2443
ต่อเติมครั้งสุดท้าย พ.ศ. 2535
ล้อขับเคลื่อน เอ็มพี 89 CC
จำนวนสถานี 25
ระยะทาง 16.6 กิโลเมตร (10.3 ไมล์)
ระยะทางระหว่างสถานี 692 เมตร
ผู้โดยสาร 165,921,408 (ต่อปี)
ระบบขนส่งมวลชนปารีส
รถไฟฟ้า (Métro)
Paris transit icons - Métro 1.svg สาย 1 Paris transit icons - Métro 7bis.svg สาย 7 (2)
Paris transit icons - Métro 2.svg สาย 2 Paris transit icons - Métro 8.svg สาย 8
Paris transit icons - Métro 3.svg สาย 3 Paris transit icons - Métro 9.svg สาย 9
Paris transit icons - Métro 3bis.svg สาย 3 (2) Paris transit icons - Métro 10.svg สาย 10
Paris transit icons - Métro 4.svg สาย 4 Paris transit icons - Métro 11.svg สาย 11
Paris transit icons - Métro 5.svg สาย 5 Paris transit icons - Métro 12.svg สาย 12
Paris transit icons - Métro 6.svg สาย 6 Paris transit icons - Métro 13.svg สาย 13
Paris transit icons - Métro 7.svg สาย 7 Paris transit icons - Métro 14.svg สาย 14
แอร์เออแอร์ (RER)
Paris RER A icon.svg สาย A Paris RER D icon.svg สาย D
Paris RER B icon.svg สาย B Paris RER E icon.svg สาย E
Paris RER C icon.svg สาย C
รถไฟชานเมืองทร็องซีเลียง (Transilien)
Paris Banlieue icon.svg แซ็ง-ลาซาร์ Paris Banlieue icon.svg เหนือ
Paris Banlieue icon.svg ลาเดฟ็องส์ Paris Banlieue icon.svg ตะวันออก
Paris Banlieue icon.svg มงปาร์นัส Paris Banlieue icon.svg ลียง
รถไฟฟ้าท่าอากาศยาน
Paris Orlyval icon.svg CDGVAL Paris Orlyval icon.svg Orlyval
รถโดยสารประจำทาง
Paris Bus icon.svg รถโดยสารประจำทาง (RATP) Paris Bus icon.svg น็อกตีเลียง
รถโดยสารประจำทาง (Optile)
รถราง
Paris tram 1 jms.svg สาย T1 Paris tram 2 jms.svg สาย T2
Paris tram 3 jms.svg สาย T3 Paris tram 4 jms.svg สาย T4

รถไฟฟ้าปารีส สาย 1 (ฝรั่งเศส: ligne 1 du métro de Paris) เป็นรถไฟฟ้าสายแรกของกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส เปิดให้บริการครั้งแรกในปี พ.ศ. 2443 ซึ่งปัจจุบันเชื่อมต่อสถานีลา ดฟ็องส์เข้ากับสถานีชาโตเดอแว็งแซน โดยมีความยาวทั้งสิ้น 16.5 กิโลเมตร สาย 1 เป็นสายที่เชื่อมต่อระหว่างตะวันตกกับตะวันออก โดยตัดผ่านจุดสำคัญของกรุงปารีส ถ้าไม่รวมรถไฟฟ้าแอร์เออแอร์แล้ว สาย 1 เป็นสายรถไฟฟ้าที่มีผู้ใช้มากที่สุดถึง 165,921,408 คนในปี พ.ศ. 2547 และ 561,000 คนต่อวันโดยเฉลี่ย [1]

อ้างอิง[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]