ย่านพาโหม
ย่านพาโหม | |
---|---|
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ | |
อาณาจักร: | Plantae |
ไม่ได้จัดลำดับ: | Angiosperms |
ไม่ได้จัดลำดับ: | Eudicots |
ไม่ได้จัดลำดับ: | Asterids |
อันดับ: | Gentianales |
วงศ์: | Rubiaceae |
สกุล: | Paederia |
สปีชีส์: | P. foetida |
ชื่อทวินาม | |
Paederia foetida L. [1] | |
ชื่อพ้อง | |
|
ย่านพาโหม หรือ ตดหมูตดหมา (ชื่อวิทยาศาสตร์: Paederia foetida) เป็นพืชที่อยู่ในวงศ์ Rubiaceae ก้านมีกลิ่น เป็นไม้เลื้อย เป็นพืชคนละชนิดกับกระพังโหม[3]มีขนตลอดต้น ใบเดี่ยว มีหูใบระหว่างใบ ดอกช่อ ดอกย่อยสมบูรณ์เพศ ผลมีเมล็ดเดียว รูปร่างแบน มีกลิ่นเหม็น ซึ่งเกิดจากกลิ่นของสารประกอบที่มีกำมะถัน เมื่อลำต้นหรือใบเกิดบาดแผล สารเคมีที่พบส่วนใหญ่เป็น ไดเมทิลไดซัลไฟด์[4]
การกระจายพันธุ์
[แก้]เป็นพืชพื้นเมืองในเขตร้อนของเอเชีย พบตามธรรมชาติในเมลานีเซีย โพลีเนเซีย และฮาวาย [2] เป็นพืชพื้นเมืองในหลายประเทศ เช่น บังกลาเทศ ภูฏานตอนใต้ กัมพูชา ไต้หวัน จีน อินเดีย อินโดนีเซีย ญี่ปุ่น ลาว มาเลเซีย พม่า เนปาล ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ เกาหลีใต้ ไทย และ เวียดนาม.[2]
การใช้ประโยชน์
[แก้]ชาวถิ่นใช้เถาตำรวมกับไพลแก้ปวดท้องในเด็ก ชาวขมุเชื่อว่าถ้านำเถาผูกข้อมือและข้อเท้าสลับข้างกัน ช่วยป้องกันสันนิบาตในเด็กได้[5]ในอินเดียเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือใช้เป็นเครื่องเทศ นอกจากนี้แล้วยังใช้ขับลมและเสริมสมรรถภาพทางเพศอีกด้วย [6]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ This species was first described botanically and published in Mantissa Plantarum 1: 52. 1767. "Name - Paederia foetida L." Tropicos. Saint Louis, Missouri: Missouri Botanical Garden. สืบค้นเมื่อ August 9, 2010.
- ↑ 2.0 2.1 2.2 GRIN (October 17, 2001). "Paederia foetida information from NPGS/GRIN". Taxonomy for Plants. National Germplasm Resources Laboratory, Beltsville, Maryland: USDA, ARS, National Genetic Resources Program. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-05-04. สืบค้นเมื่อ August 9, 2010.
- ↑ ชยันต์ พิเชียรสุนทร ศุภชัย ติยวรนันท์ และ วิเชียร จีรวงศ์. คู่มือเภสัชกรรมแผนไทยเล่ม 6 เภสัชกรรม. กทม. อัมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง. 2555.
- ↑ K.C.Wong; G.L.Tan (Jan–Feb 1994). "Steam volatile constituents of the aerial parts of Paederia foetida L. (abstract)". Flavour and Fragrance Journal. Universiti Sains Malaysia, Penang, Malaysia: John Wiley & Sons, Inc. 9 (1): 25–28. doi:10.1002/ffj.2730090106.
{{cite journal}}
: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์) - ↑ ทิพย์สุดา ตั้งตระกูล. 2541. พฤกษศาสตร์พื้นบ้านของชาวขมุ ชาวลัวะและชาวถิ่นในบางพื้นที่ของจังหวัดน่านวิทยานิพนธ์ (วิทยาศาสตรมหาบัณฑิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม่242 หน้า ดูฉบับเต็ม เก็บถาวร 2020-08-12 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- ↑ "วิเคราะห์คอลัมนิสต์". ฟ้าวันใหม่. October 17, 2018.