ยูเอสเอส พิวโบล (AGER-2)
![]() พิวโบล ในประเทศเกาหลีเหนือ ปี ค.ศ. 2012 | |
ประวัติ (สหรัฐ) |
![]() |
---|---|
ชื่อเรือ: | พิวโบล |
ตั้งชื่อตาม: | พิวโบล รัฐโคโลราโด และพิวโบลเคาน์ตี รัฐโคโลราโด |
ต่อขึ้นที่: | คีโวนีชิปบิลดิงแอนด์เอนจิเนียริง |
วางกระดูกงู: | ค.ศ. 1944 |
ปล่อยลงน้ำ: | 16 เมษายน ค.ศ. 1944 |
ขึ้นระวาง: | 7 เมษายน ค.ศ. 1945 |
ประจำการ: | ค.ศ. 1945 |
จัดชั้นเรือใหม่: |
18 มิถุนายน ค.ศ. 1966 AKL-44 13 พฤษภาคม ค.ศ. 1967 AGER-2 |
เกียรติยศ และ รางวัล: |
|
เรือถูกยึด: | 23 มกราคม ค.ศ. 1968 |
จุดจบ: | ถูกเข้ายึดโดยเกาหลีเหนือ |
สถานะ: | ในประจำการ, ขึ้นระวาง (เพื่อขัดขวางการจับกุม, ปัจจุบันยึดครองโดยเกาหลีเหนือในฐานะเรือพิพิธภัณฑ์) |
สัญลักษณ์: |
![]() |
ลักษณะเฉพาะ | |
ชั้น: |
|
ประเภท: | (ตามที่สร้างขึ้น) เรือขนส่งสินค้าเบา; (แปลงเป็น) เรือรวบรวมข่าวกรอง |
ขนาด (ตัน): | 345 ตัน เดดเวตตัน |
ขนาด (ระวางขับน้ำ): | 550 ตันเปล่า, 895 ตันเต็ม |
ความยาว: | 177 ft (54 m) |
ความกว้าง: | 32 ft (9.8 m) |
กินน้ำลึก: | 9 ft (2.7 m) |
ใบจักร: | สองเครื่องยนต์ดีเซล 500 แรงม้า จีเอ็ม คลีฟแลนด์ดิวิชัน 6-278เอ 6 สูบ วี6 |
ความเร็ว: | 12.7 นอต (23.5 กิโลเมตรต่อชั่วโมง; 14.6 ไมล์ต่อชั่วโมง) |
อัตราเต็มที่: | ทหารชั้นสัญญาบัตร 6 นาย, พลทหาร 70 นาย |
ยุทโธปกรณ์: | ปืนกลขนาดลำกล้อง 0.50 นิ้ว เอ็ม 2 บราวนิง จำนวน 2 กระบอก |
ยูเอสเอส พิวโบล (AGER-2) (อังกฤษ: USS Pueblo (AGER-2)) เป็นเรือวิจัยสิ่งแวดล้อมชั้นแบนเนอร์ โดยเป็นส่วนหนึ่งของหน่วยสืบราชการลับของกองทัพเรือในฐานะเรือสายลับ ซึ่งถูกโจมตีและถูกเข้ายึดโดยกองกำลังเกาหลีเหนือเมื่อวันที่ 23 มกราคม ค.ศ. 1968 ในสิ่งที่รู้จักกันในปัจจุบันในชื่อ "เหตุการณ์พิวโบล"[1] หรืออีกชื่อหนึ่งในฐานะ "วิกฤตพิวโบล"
การยึดเรือของกองทัพเรือสหรัฐและลูกเรือ 83 นายของเรือ หนึ่งในนั้นถูกฆ่าตายในการโจมตี โดยเกิดขึ้นน้อยกว่าหนึ่งสัปดาห์หลังจากการแถลงนโยบายประจำปีต่อรัฐสภาของลินดอน บี. จอห์นสัน ที่ปราศรัยต่อรัฐสภาสหรัฐ, หนึ่งสัปดาห์ก่อนการเริ่มต้นการรุกตรุษญวนในประเทศเวียดนามใต้ในช่วงสงครามเวียดนาม และสามวันหลังจากหน่วย 124 กองทัพประชาชนเกาหลีของประเทศเกาหลีเหนือ 31 นายได้ข้ามเขตปลอดทหารเกาหลี (DMZ) และสังหารชาวเกาหลีใต้ 26 คนในความพยายามโจมตีทำเนียบน้ำเงินของเกาหลีใต้ (คฤหาสน์ผู้บริหาร) ที่กรุงโซลซึ่งเป็นเมืองหลวง การยึดพิวโบล และการถูกทารุณกรรม รวมถึงการทรมานลูกเรือของมันในช่วง 11 เดือนต่อมากลายเป็นเหตุการณ์สงครามเย็นครั้งใหญ่ ซึ่งเพิ่มความตึงเครียดระหว่างอำนาจตะวันตกและตะวันออก
เกาหลีเหนือระบุว่าพิวโบลจงใจเข้าไปในน่านน้ำ 7.6 ไมล์ทะเล (14 กม.) จากเกาะเรียว และสมุดปูมเรือแสดงให้เห็นว่าพวกเขาบุกรุกหลายครั้ง[2] อย่างไรก็ตาม สหรัฐยืนยันว่าเรือดังกล่าวอยู่ในน่านน้ำสากลในเวลาที่เกิดเหตุการณ์ และหลักฐานที่อ้างว่ามีให้โดยเกาหลีเหนือเพื่อสนับสนุนคำแถลงการณ์ก็เป็นการสร้างเรื่องราวที่ไม่เป็นความจริง[3] พิวโบลยังถูกยึดครองโดยเกาหลีเหนือในปัจจุบัน ทั้งเป็นเรือขึ้นระวางอย่างเป็นทางการของกองทัพเรือสหรัฐ[4] ตั้งแต่ต้นปี ค.ศ. 2003 เรือได้ถูกผูกจอดขนานไปกับแม่น้ำโพทงในเปียงยาง และใช้เป็นเรือพิพิธภัณฑ์ที่พิพิธภัณฑ์สงครามปลดปล่อยแผ่นดินปิตุภูมิ[5] พิวโบลเป็นเรือลำเดียวของกองทัพเรือสหรัฐที่ยังคงอยู่ในบัญชีรายชื่อขึ้นระวางในปัจจุบันที่ถูกจับเป็นเชลย[6]
ดูเพิ่ม[แก้]
ความขัดแย้งอื่น:
อ้างอิง[แก้]
- ↑ "Reactions to Pueblo Incident (1968)". Texas Archive of the Moving Image. สืบค้นเมื่อ November 5, 2019.
- ↑ "Pueblo Incident". "Naenara" News from South Korea. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 27 May 2015.
- ↑ Schindler, John R. "A Dangerous Business: The U.S. Navy and National Reconnaissance During the Cold War" (PDF). p. 9. เก็บ (PDF) จากแหล่งเดิมเมื่อ 12 July 2017. สืบค้นเมื่อ 24 June 2013.
- ↑ [[[:แม่แบบ:NVR url]] "USS Pueblo – AGER-2"] Check
|url=
value (help). Naval Vessel Register. สืบค้นเมื่อ 11 June 2009. - ↑ MacClintock, R. "USS Pueblo Today". USS Pueblo Veteran's Association. เก็บ จากแหล่งเดิมเมื่อ 29 January 2013. สืบค้นเมื่อ 25 January 2013.
- ↑ "List of active ships". Naval Vessel Register. NAVSEA Shipbuilding Support Office. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 4 February 2012. สืบค้นเมื่อ 23 May 2013.
แหล่งที่มา
- NKIDP: Crisis and Confrontation on the Korean Peninsula: 1968–1969, A Critical Oral History
- USS Pueblo Today usspueblo.org
อ่านเพิ่ม[แก้]
- Armbrister, Trevor. A Matter of Accountability: The True Story of the Pueblo Affair. Guilford, Conn: Lyon's Press, 2004. ISBN 1592285791
- Brandt, Ed. The Last Voyage of USS Pueblo. New York: Norton, 1969. ISBN 0393053903
- Bucher, Lloyd M., and Mark Rascovich. Pueblo and Bucher. London: M. Joseph, 1971. ISBN 0718109066 OCLC 3777130
- Cheevers, Jack. Act of War: Lyndon Johnson, North Korea, and the Capture of the Spy Ship Pueblo. New York : NAL Caliber, 2013. ISBN 9780451466198
- Crawford, Don. Pueblo Intrigue; A Journey of Faith. Wheaton, Ill: Tyndale House Publishers, 1969. OCLC 111712
- Frampton, Viktor & Morison, Samuel Loring (1991). "Question 41/89". Warship International. International Naval Research Organization. XXVIII (1): 83–84. ISSN 0043-0374.
- Gallery, Daniel V. The Pueblo Incident. Garden City, N.Y.: Doubleday, 1970. OCLC 49823
- Harris, Stephen R., and James C. Hefley. My Anchor Held. Old Tappan, N.J.: F.H. Revell Co, 1970. ISBN 0800704029 OCLC 101776
- Hyland, John L., and John T. Mason. Reminiscences of Admiral John L. Hyland, USN (Ret.). Annapolis, MD: U.S. Naval Institute, 1989. OCLC 46940419
- Lerner, Mitchell B. The Pueblo Incident: A Spy Ship and the Failure of American Foreign Policy. Lawrence, Kan: University Press of Kansas, 2002. ISBN 0700611711 OCLC 48516171
- Liston, Robert A. The Pueblo Surrender: A Covert Action by the National Security Agency. New York: M. Evans, 1988. ISBN 0871315548 OCLC 18683738
- Michishita, Narushige. North Korea's Military-Diplomatic Campaigns, 1966–2008. London: Routledge, 2010. ISBN 9780203870587
- Mobley, Richard A. Flash Point North Korea: The Pueblo and EC-121 Crises. Annapolis, Md: Naval Institute Press, 2003. ISBN 1557504032
- Murphy, Edward R., and Curt Gentry. Second in Command; The Uncensored Account of the Capture of the Spy Ship Pueblo. New York: Holt, Rinehart and Winston, 1971. ISBN 0030850754
- Newton, Robert E. The Capture of the USS Pueblo and Its Effect on SIGINT Operations. [Fort George G. Meade, Md.]: Center for Cryptologic History, National Security Agency, 1992. OCLC 822026554
- Spiva, Dave (December 2018). "11 Months of Hell". VFW Magazine. Vol. 106 no. 3. Kansas City, Mo.: Veterans of Foreign Wars of the United States. p. 40. ISSN 0161-8598.
Dec. 23 marks 50 years since the release of USS Pueblo crew members from North Korea's custody. One died heroically and the rest were tortured daily for nearly a year. The ship, to this day, remains in North Korean custody.
แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]
![]() |
คอมมอนส์ มีภาพและสื่อเกี่ยวกับ: ยูเอสเอส พิวโบล (AGER-2) |
- The Pueblo Incident ที่ยูทูบ "The Pueblo Incident" briefing and analysis by the US Navy (1968)
- USS Pueblo ที่ยูทูบ YouTube video taken of and aboard the USS Pueblo in Korea
- แม่แบบ:Internet Archive short film
- Official website by former USS Pueblo crew members
- Complaint and court judgment from crew members' lawsuit against North Korea
- "CNN.com obituary for Commander Lloyd M. Bucher". Archived from the original on 9 April 2004. สืบค้นเมื่อ 3 February 2004.CS1 maint: BOT: original-url status unknown (link)
- Puebloon Google Maps satellite image
- Naval Vessel Register listing
- Pueblo ที่อินเทอร์เน็ตมูวีเดตาเบส – a 1973 TV movie about the Pueblo incident
- North Korean International Documentation Project
- Movie sold in Pyongyang on Pueblo Incident ที่ยูทูบ A North Korean video on the issue
- A Navy and Marine Corps report of investigation of the "USS Pueblo seizure" conducted pursuant to chapter II of the Manual of the Judge Advocate General (JAGMAN)[1] published as six PDF files: 1 2 3 4 5 6
- Pueblo Court of Inquiry Scrapbook, 1969-1976, MS 237 held by Special Collection & Archives, Nimitz Library at the United States Naval Academy
- "USS Pueblo Crisis," Wilson Center Digital Archive
พิกัดภูมิศาสตร์: 39°02′25″N 125°44′23″E / 39.04028°N 125.73972°E