ข้ามไปเนื้อหา

ยูกิ สึโนดะ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ยูกิ สึโนดะ
角田 裕毅
เกิด (2000-05-11) 11 พฤษภาคม ค.ศ. 2000 (24 ปี)
ซางามิฮาระ คานางาวะ ญี่ปุ่น
ฟอร์มูลาวันชิงแชมป์โลก
สัญชาติประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น
ทีมในปี 2025เรซซิงบูลส์-ฮอนด้า อาร์บีพีที[1]
เรดบูลเรซซิง-ฮอนด้า อาร์บีพีที[2]
หมายเลขรถ22
แข่ง95 (ออกตัว 92)
แชมป์โลก0
ชนะ0
โพเดียม0
คะแนน96
ตำแหน่งโพล0
ทำรอบได้เร็วที่สุด1
แข่งครั้งแรกบาห์เรนกรังด์ปรีซ์ 2021
แข่งครั้งล่าสุดซาอุดีอาระเบียนกรังด์ปรีซ์ 2025
อันดับในปี 202412 (30 คะแนน)
รายการที่แล้ว
ตำแหน่งแชมป์
รางวัล
  • เอฟไอเอ นักแข่งหน้าใหม่แห่งปี
  • รางวัลอ็องตวน อูว์แบร์
เว็บไซต์www.yukitsunoda.com

ยูกิ สึโนดะ (ญี่ปุ่น: 角田 裕毅โรมาจิTsunoda Yūki, ออกเสียง: [tsɯnoda jɯ̟ᵝːkʲi]; เกิด 11 พฤษภาคม ค.ศ. 2000) เป็นนักแข่งรถชาวญี่ปุ่น ปัจจุบันแข่งรถในการแข่งขันฟอร์มูลาวันให้แก่เรดบูล

สึโนดะเกิดและเติบโตที่เมืองซางามิฮาระ จังหวัดคานางาวะ เขาเริ่มต้นขับรถคาร์ตตั้งแต่อายุสี่ขวบ[3] และเลื่อนขั้นสู่รายการฟอร์มูลาระดับรองใน ค.ศ. 2016 โดยได้รับการสนับสนุนจากฮอนด้า ผ่านฮอนด้าฟอร์มูลาดรีมโปรเจกต์ [ja][4] สึโนดะชนะการแข่งขันชิงแชมป์รายการแรกที่เจเอเอฟเจแปนเอฟโฟร์อีสต์ซีรีส์ ฤดูกาล 2017[5] และชนะการแข่งขันเอฟโฟร์ชิงแชมป์ญี่ปุ่น ในฤดูกาลถัดมา[6] เขาเข้าแข่งขันต่อในรายการเอฟไอเอฟอร์มูลาทรี ฤดูกาล 2019 กับเยนเซอร์[7] ก่อนที่เขาจะทำผลงานจบฤดูกาลแรกในอันดับที่สามของการแข่งขันเอฟไอเอฟอร์มูลาทู ฤดูกาล 2020 กับคาร์ลิน[8]

สึโนดะเป็นสมาชิกของเรดบูลจูเนียร์ทีมตั้งแต่ ค.ศ. 2019[9] และเซ็นสัญญาลงแข่งให้แก่อัลฟาทอรีในฤดูกาล 2021 โดยใช้เครื่องยนต์ของฮอนด้าเคียงคู่กับปีแยร์ กัสลี[10] ซึ่งในฤดูกาลเดียวกันนี้เขาได้สร้างผลงานที่ดีที่สุดในอาชีพของตนเอง ด้วยการจบในอันดับที่สี่ในการแข่งขันอาบูดาบีกรังด์ปรีซ์ 2021[11] สึโนดะรักษาตำแหน่งนักแข่งหลักให้แก่อัลฟาทอรีในฤดูกาล 2022 และ 2023 โดยได้จับคู่กับ นิก เดอ ฟรีส และ แดเนียล ริกคาร์โด ในฤดูกาลให้หลัง[12][13][14] เขายังคงลงแข่งให้กับทีมในฤดูกาล 2024 ในขณะที่ทีมนั้นได้ปรับภาพลักษณ์ใหม่เป็นเรซซิงบูลส์[15][16] ก่อนที่เขาจะเลื่อนตำแหน่งสู่ทีมหลักคือเรดบูลตั้งแต่การแข่งขันเจแปนนีสกรังด์ปรีซ์เป็นต้นไปในฤดูกาล 2025[2]

จากสถิติ ณ ซาอุดีอาระเบียนกรังด์ปรีซ์ 2025 สึโนดะมีผลงานการทำรอบได้เร็วที่สุดหนึ่งครั้งในการแข่งขันฟอร์มูลาวัน

สถิติการแข่งรถคาร์ต

[แก้]

สรุปอาชีพนักแข่งรถคาร์ต

[แก้]
ฤดูกาล รายการ ทีม อันดับ
2006 คิดส์คาร์ตเฟสตา – รุ่นคิดส์วัน 1
2007 โมบาระไฟฟ์สตาร์คาร์ตคัพ – รุ่นคัมเมอร์ 60 เอกซ์เพิร์ต เรนสปอร์ตพลัตซ์ 17
อีสต์เจแปนจูเนียร์แชมเปียนซีรีส์ – รุ่นคัมเมอร์ 60 เฟรชแมน ซูเปอร์ชิปส์, ยูกิ สึโนดะ[a]
2008 โมบาระไฟฟ์สตาร์คาร์ตคัพ – รุ่นคัมเมอร์ 60 เอกซ์เพิร์ต วิตตอเรียสปอร์ต[b] 18
อีสต์เจแปนจูเนียร์แชมเปียนซีรีส์ – รุ่นคัมเมอร์ 60 เอกซ์เพิร์ต
2009 โมบาระเวสต์คัพ – รุ่นคัมเมอร์ 60 เอกซ์เพิร์ต เรนสปอร์ต[c] 1
อีสต์เจแปนจูเนียร์แชมเปียนซีรีส์ – รุ่นคัมเมอร์ 60 เอกซ์เพิร์ต 3
2010 ฮารูนะคัพซีรีส์ – รุ่นยามาฮ่าคาเดตโอเพน เรนสปอร์ต[d] 2
นิวโตเกียวเซอร์กิตคัพซีรีส์ – รุ่นจูเนียร์คาเดต วัลโวลเรซซิง 1
เจเอเอฟ จูเนียร์คาร์ตแชมเปียนชิป – รุ่นเอฟพี-จูเนียร์คาเดต 6
อีสต์เจแปนจูเนียร์แชมเปียนซีรีส์ – รุ่นยามาฮ่าคาเดตโอเพน เรนสปอร์ต[e]
2011 เอสแอล คาร์ตมีตติงเนชันแนลแชมเปียนชิป – รุ่นคาเดตโอเพน คอสมิกเรซซิงเจแปน[f] 1
ฮารูนะคัพซีรีส์ – รุ่นยามาฮ่าคาเดตโอเพน 1
นิวโตเกียวเซอร์กิตคัพซีรีส์ – รุ่นจูเนียร์คาเดต
เจเอเอฟ จูเนียร์คาร์ตแชมเปียนชิป – รุ่นเอฟพี-จูเนียร์คาเดต 5
2012 เอสแอล คาร์ตมีตติงเนชันแนลแชมเปียนชิป – รุ่นเอสเอส 4
เจเอเอฟ จูเนียร์คาร์ตแชมเปียนชิป – รุ่นเอฟพี-จูเนียร์คาเดต 3
2013 เจเอเอฟ รีเจียนนัลจูเนียร์คาร์ตแชมเปียนชิป ภูมิภาคตะวันออก – รุ่นเอฟเอส-125 1
โมเตกิคาร์ตเรซ – รุ่นเอกซ์30 เคบีเอฟ 1
2014 เจเอเอฟ ออลเจแปนจูเนียร์คาร์ตแชมเปียนชิป – รุ่นเอฟเอส-125 11
โมเตกิคาร์ตเรซ – รุ่นเอกซ์30 เคบีเอฟ 8
2015 เจเอเอฟ ออลเจแปนจูเนียร์คาร์ตแชมเปียนชิป – รุ่นเอฟเอส-125 2
โมเตกิคาร์ตเรซ – รุ่นเอกซ์30 เคบีเอฟ 13
2016 เจเอเอฟ ออลเจแปนจูเนียร์คาร์ตแชมเปียนชิป – รุ่นเคเอฟ 4
2017 เจเอเอฟ ออลเจแปนจูเนียร์คาร์ตแชมเปียนชิป – รุ่นโอเค 23
แหล่งที่มา:[26][27][28][29][30][31][32]

สถิติการแข่งรถ

[แก้]

สรุปอาชีพนักแข่งรถ

[แก้]
ฤดูกาล รายการ ทีม แข่งขัน ชนะ โพล รอบเร็ว โพเดียม คะแนน อันดับ
2016 ซูเปอร์เอฟเจโอกายามะซีรีส์ เอ็มวายเอสที [ja] 2 2 1 2 2 40 5
ซูเปอร์เอฟเจออล-เจแปนไฟนอล 1 1 1 1 1 1
เอฟโฟร์ชิงแชมป์ญี่ปุ่น ซูเตกินะเรซซิงทีม 2 0 0 0 1 30 16
2017 เอฟโฟร์ชิงแชมป์ญี่ปุ่น ฮอนด้าฟอร์มูลาดรีมโปรเจกต์ [ja] 14 3 4 1 6 173 3
เจเอเอฟฟอร์มูลาโฟร์อีสต์ซีรีส์ มารูซัน เอ็มวายเอสที เจเอสเอส 6 5 5 5 6 115 1
เจเอเอฟฟอร์มูลาโฟร์เวสต์ซีรีส์ 1 1 1 1 1 20 7
2018 เอฟโฟร์ชิงแชมป์ญี่ปุ่น ฮอนด้าฟอร์มูลาดรีมโปรเจกต์ [ja] 14 7 8 4 11 245 1
2019 ยูโรฟอร์มูลาโอเพนแชมเปียนชิป โมโตพาร์ก 14 1 0 3 6 151 4
เอฟไอเอฟอร์มูลาทรีแชมเปียนชิป เยนเซอร์มอเตอร์สปอร์ต 16 1 0 1 3 67 9
มาเก๊ากรังด์ปรีซ์ ไฮเทคกรังด์ปรีซ์ 1 0 0 0 0 11
2020 โตโยต้าเรซซิงซีรีส์ เอ็มทูคอมเพทิชัน 15 1 0 0 3 257 4
เอฟไอเอฟอร์มูลาทูแชมเปียนชิป คาร์ลิน 24 3 4 1 7 200 3
2021 ฟอร์มูลาวัน สกูเดเรียอัลฟาทอรีฮอนด้า 22 0 0 0 0 32 14
2022 ฟอร์มูลาวัน สกูเดเรียอัลฟาทอรี 22 0 0 0 0 12 17
2023 ฟอร์มูลาวัน สกูเดเรียอัลฟาทอรี 22 0 0 1 0 17 14
2024 ฟอร์มูลาวัน วีซาแคชแอปอาร์บีเอฟวันทีม 24 0 0 0 0 30 12
2025 ฟอร์มูลาวัน วีซาแคชแอปเรซซิงบูลส์เอฟวันทีม 2 0 0 0 0 5* 16*
ออราเคิลเรดบูลเรซซิง 3 0 0 0 0
แหล่งที่มา:[33][34][35]
หมายเหตุ
  • * ฤดูกาลกำลังดำเนินอยู่

ผลการแข่งขันฟอร์มูลาวัน

[แก้]
(คำสำคัญ) (การแข่งขันที่กำหนดเป็น ตัวหนา หมายถึงนักขับได้ตำแหน่งโพล; การแข่งขันที่กำหนดเป็น ตัวเอียง หมายถึงนักขับทำรอบได้เร็วที่สุด)
ปี ผู้เข้าแข่งขัน แชสซี เครื่องยนต์ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 อันดับ คะแนน
2021 สกูเดเรียอัลฟาทอรีฮอนด้า อัลฟาทอรี เอที02 ฮอนด้า อาร์เอ621เอช 1.6 วี6 เทอร์โบ BHR
9
EMI
12
POR
15
ESP
Ret
MON
16
AZE
7
FRA
13
STY
10
AUT
12
GBR
10
HUN
6
BEL
15
NED
Ret
ITA
DNS
RUS
17
TUR
14
USA
9
MXC
Ret
SAP
15
QAT
13
SAU
14
ABU
4
14 32
2022 สกูเดเรียอัลฟาทอรี อัลฟาทอรี เอที03 เรดบูล อาร์บีพีทีเอช001 1.6 วี6 เทอร์โบ BHR
8
SAU
DNS
AUS
15
EMI
7
MIA
12
ESP
10
MON
17
AZE
13
CAN
Ret
GBR
14
AUT
16
FRA
Ret
HUN
19
BEL
13
NED
Ret
ITA
14
SIN
Ret
JPN
13
USA
10
MXC
Ret
SAP
17
ABU
11
17 12
2023 สกูเดเรียอัลฟาทอรี อัลฟาทอรี เอที04 ฮอนด้า อาร์บีพีทีเอช001 1.6 วี6 เทอร์โบ BHR
11
SAU
11
AUS
10
AZE
10
MIA
11
MON
15
ESP
12
CAN
14
AUT
19
GBR
16
HUN
15
BEL
10
NED
15
ITA
DNS
SIN
Ret
JPN
12
QAT
15
USA
8
MXC
12
SAP
96
LVG
18†
ABU
8
14 17
2024 วีซาแคชแอปอาร์บีเอฟวันทีม อาร์บี วีซีเออาร์บี 01 ฮอนด้า อาร์บีพีทีเอช002 1.6 วี6 เทอร์โบ BHR
14
SAU
15
AUS
7
JPN
10
CHN
Ret
MIA
78
EMI
10
MON
8
CAN
14
ESP
19
AUT
14
GBR
10
HUN
9
BEL
16
NED
17
ITA
Ret
AZE
Ret
SIN
12
USA
14
MXC
Ret
SAP
7
LVG
9
QAT
13
ABU
12
12 30
2025 วีซาแคชแอปเรซซิงบูลส์เอฟวันทีม เรซซิงบูลส์ วีซีเออาร์บี 02 ฮอนด้า อาร์บีพีทีเอช002 1.6 วี6 เทอร์โบ AUS
12
CHN
166
16* 5*
ออราเคิลเรดบูลเรซซิง เรดบูล อาร์บี21 JPN
12
BHR
9
SAU
Ret
MIA
EMI
MON
ESP
CAN
AUT
GBR
BEL
HUN
NED
ITA
AZE
SIN
USA
MXC
SAP
LVG
QAT
ABU
แหล่งที่มา:[36][37]
หมายเหตุ
  • † ไม่จบการแข่งขันแต่ถูกจัดอันดับ เนื่องจากแข่งขันมากกว่าร้อยละ 90 ของระยะทางการแข่งขัน
  • * ฤดูกาลกำลังดำเนินอยู่

หมายเหตุ

[แก้]
  1. การแข่งขันอีสต์เจแปนจูเนียร์แชมเปียนซีรีส์ รอบวันที่ 5 พฤษภาคม ค.ศ. 2007 ณ สนามนิวโตเกียวเซอร์กิต ระบุว่าสึโนดะแข่งขันให้แก่ซูเปอร์ชิปส์[17] ส่วนรอบวันที่ 7 ตุลาคม ค.ศ. 2007 ณ สนามโออิ-มาสด้าคาร์ตแลนด์ ระบุว่าสึโนดะแข่งขันภายใต้ชื่อตัวเอง[18][19]
  2. การแข่งขันอีสต์เจแปนจูเนียร์แชมเปียนซีรีส์ รอบวันที่ 16 มีนาคม ค.ศ. 2008 ณ สนามโออิ-มาสด้าคาร์ตแลนด์ และรอบวันที่ 28 กันยายน ค.ศ. 2008 ณ สนามอิตาโกะมอเตอร์สปอร์ตพาร์ก ระบุว่าสึโนดะแข่งขันให้แก่วิตตอเรียสปอร์ต[20][21]
  3. การแข่งขันอีสต์เจแปนจูเนียร์แชมเปียนซีรีส์ รอบวันที่ 5 กรกฎาคม ค.ศ. 2009 ณ สนามอิตาโกะมอเตอร์สปอร์ตพาร์ก ระบุว่าสึโนดะแข่งขันให้แก่เรนสปอร์ต[22]
  4. การแข่งขันฮารูนะคัพซีรีส์ รอบวันที่ 14 พฤษจิกายน ค.ศ. 2010 ระบุว่าสึโนดะแข่งขันให้แก่เรนสปอร์ต[23]
  5. การแข่งขันอีสต์เจแปนจูเนียร์แชมเปียนซีรีส์ รอบวันที่ 19 ธันวาคม ค.ศ. 2010 ณ สนามโมบาระทวินเซอร์กิต ระบุว่าสึโนดะแข่งขันให้แก่เรนสปอร์ต[24]
  6. การแข่งขันฮารูนะคัพซีรีส์ รอบวันที่ 26 มกราคม ค.ศ. 2011 ระบุว่าสึโนดะแข่งขันให้แก่คอสมิกเรซซิงเจแปน[25]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Tsunoda to stay as RB driver for 2025 with latest seat on the grid confirmed". Formula One. 8 June 2024. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 June 2024. สืบค้นเมื่อ 8 June 2024.
  2. 2.0 2.1 "Tsunoda to replace Lawson at Red Bull from Japanese GP as New Zealander drops down to Racing Bulls". Formula One. 27 March 2025. สืบค้นเมื่อ 27 March 2025.
  3. "Yuki Tsunoda, Who Has Broken Several Records as The Youngest Formula 1 Driver And Is Now Facing New Challenges, Talks About "What Motivates Him to Pursue His Dreams"". Honda Motor. 29 February 2024 [23 October 2023]. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 December 2024. สืบค้นเมื่อ 13 February 2025.
  4. Kasahara, Kazuki (4 December 2018). "F1昇格を目指す18歳、角田裕毅選手がアブダビのGP3テストで鮮烈デビュー". Car Watch (ภาษาญี่ปุ่น). Impress. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 June 2022. สืบค้นเมื่อ 6 December 2020.
  5. "2017年 F4地方選手権シリーズ" [2017 F4 Regional Championship Series] (ภาษาญี่ปุ่น). Japan Formula Four Association. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 September 2019. สืบค้นเมื่อ 30 June 2019.
  6. Wood, Ida (11 November 2018). "Yuki Tsunoda becomes first Honda-backed Japanese F4 champion". Formula Scout. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 November 2020. สืบค้นเมื่อ 18 May 2023.
  7. Horton, Phillip (26 November 2018). "Honda-backed Japanese F4 champion Yuki Tsunoda joins F3". Motorsport Week. Motorsport Media Services. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 30 June 2019. สืบค้นเมื่อ 30 June 2019.
  8. "Schumacher crowned F2 champion, as Daruvala scores first win in Sakhir Sprint Race". Formula 2 Championship. Formula Motorsport. 6 December 2020. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 April 2023. สืบค้นเมื่อ 12 February 2025.
  9. Khorounzhiy, Valentin (5 December 2018). "Red Bull firms up Honda-linked junior team plan for 2019". Motorsport.com. Motorsport Network. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 November 2020. สืบค้นเมื่อ 30 June 2019.
  10. Mitchell-Malm, Scott (16 December 2020). "Tsunoda gets AlphaTauri F1 seat, replaces Kvyat". The Race. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 November 2021. สืบค้นเมื่อ 16 December 2020.
  11. "Tsunoda ends year on career-high P4 after last-lap pass on Bottas". Formula One. 13 December 2021. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 June 2023. สืบค้นเมื่อ 31 May 2023.
  12. "Pierre Gasly and Yuki Tsunoda retained by AlphaTauri for 2022". Formula One. 7 September 2021. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 October 2021. สืบค้นเมื่อ 7 September 2021.
  13. "AlphaTauri announce Nyck de Vries for 2023 alongside Tsunoda". Formula One. 8 October 2022. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 October 2022. สืบค้นเมื่อ 8 October 2022.
  14. "Ricciardo to replace De Vries at AlphaTauri from the Hungarian Grand Prix". Formula One. 11 July 2023. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 July 2023. สืบค้นเมื่อ 27 July 2023.
  15. "Tsunoda and Ricciardo to race for AlphaTauri in 2024". Formula One. 23 September 2023. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 September 2023. สืบค้นเมื่อ 23 September 2023.
  16. "Red Bull's RB F1 team to compete as Racing Bulls in 2025". Reuters. 13 December 2024. สืบค้นเมื่อ 13 December 2024.
  17. "コマーF" [Comer Freshman Class]. New Tokyo Circuit (ภาษาญี่ปุ่น). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 April 2008. สืบค้นเมื่อ 12 February 2025.
  18. "Autobacs East Japan Junior Champion Series 2007". Ooi-Mazda Racing Kart Land (ภาษาญี่ปุ่น). สืบค้นเมื่อ 14 February 2025.
  19. "2007 オートバックス東日本ジュニアチャンピオンカップコマー60フレッシュマンクラス" [2007 Autobacs East Japan Junior Champion Cup – Comer 60 Freshman Class] (ภาษาญี่ปุ่น). East Japan Junior Kart Association (EJJKA). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 20 December 2007. สืบค้นเมื่อ 13 February 2025.
  20. "2008 East Japan Junior Champion Series". Ooi-Mazda Racing Kart Land (ภาษาญี่ปุ่น). สืบค้นเมื่อ 14 February 2025.
  21. "レースリザルト 2008 東日本ジュニアチャンピオンシリーズ 第4戦" [Race Result – 2008 East Japan Junior Champion Series Round 4]. Itako Motor Sport Park (ภาษาญี่ปุ่น). 28 September 2008. สืบค้นเมื่อ 13 February 2025.
  22. "レースリザルト 2009 東日本ジュニアチャンピオンシリーズ 第3戦" [Race Result – 2009 East Japan Junior Champion Series Round 3]. Itako Motor Sport Park (ภาษาญี่ปุ่น). 5 July 2009. สืบค้นเมื่อ 13 February 2025.
  23. "2010ハルナカップカートレース最終戦 エントリー状況" [2010 Haruna Cup Kart Race Final Round – Entry Information] (PDF). EIKO Motor Sports Supply. EIKO. สืบค้นเมื่อ 16 February 2025.
  24. "2010東日本ジュニアグランドチャンピオン大会" [2010 East Japan Junior Grand Champion Tournament] (PDF). Mobara Twin Circuit (ภาษาญี่ปุ่น). เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 26 March 2024. สืบค้นเมื่อ 14 February 2025.
  25. "2011ハルナカップカートレース第1戦 エントリー状況" [2011 Haruna Cup Kart Race Round 1 – Entry Information] (PDF). EIKO Motor Sports Supply. EIKO. สืบค้นเมื่อ 16 February 2025.
  26. "Profile – Yuki Tsunoda – 角田 裕毅". Yuki Tsunoda Official Site. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 July 2024. สืบค้นเมื่อ 12 February 2025.
  27. "ちびっこカートフェスタ2006 第4戦開催!" [2006 Kids Kart Festa's Fourth Round Held!]. Nakai Inter Circuit Audioblog (ภาษาญี่ปุ่น). 26 July 2006. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 December 2008. สืบค้นเมื่อ 12 February 2025.
  28. ตารางคะแนนชิงแชมป์การแข่งขันโมบาระไฟฟ์สตาร์คาร์ตคัพ และโมบาระเวสต์คัพ:
  29. "2011 第35回 TOYOTA SLカートミーティング全国大会 カデットオープン" [2011 35th Toyota SL Kart Meeting National Championship – Cadet Open] (PDF) (ภาษาญี่ปุ่น). SL Kartsports Organization. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 23 July 2013. สืบค้นเมื่อ 15 February 2025.
  30. "NTC CUPシリーズランキング更新しました!" [NTC Cup Series Ranking Updated!]. 新東京サーキットブログ (New Tokyo Circuit Blog) (ภาษาญี่ปุ่น). 25 December 2010. สืบค้นเมื่อ 15 February 2025.
  31. ตารางคะแนนชิงแชมป์รายการแข่งขันของสหพันธ์รถยนต์แห่งญี่ปุ่น (เจเอเอฟ):
  32. ตารางคะแนนชิงแชมป์การแข่งขันโมเตกิคาร์ตเรซ:
  33. ตารางคะแนนชิงแชมป์การแข่งขันซูเปอร์เอฟเจ:
  34. ตารางคะแนนชิงแชมป์การแข่งขันเจเอเอฟ ฟอร์มูลา 4:
  35. "Yuki Tsunoda". Driver Database. The Race. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 1 December 2024. สืบค้นเมื่อ 14 February 2025.
  36. "Yuki Tsunoda | Results". Motorsport Stats. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 1 December 2024. สืบค้นเมื่อ 15 February 2025.
  37. "Yuki Tsunoda | Involvement". StatsF1. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 December 2024. สืบค้นเมื่อ 15 February 2025.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]