ยุทธการที่ปาเลลิว
ยุทธการที่ปาเลลิว | |||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|
เป็นส่วนหนึ่งของ สงครามแปซิฟิกในสงครามโลกครั้งที่สอง | |||||||
![]() ระลอกแรกของเหล่านาวิกโยธินใน LVT ในช่วงยกพลขึ้นบกที่ปาเลลิวเมื่อวันที่ 15 กันยายน ค.ศ. 1944 | |||||||
| |||||||
คู่ขัดแย้ง | |||||||
![]() |
![]() | ||||||
ผู้บัญชาการหรือผู้นำ | |||||||
![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() |
![]() ![]() | ||||||
กองทัพ | |||||||
![]() Additional support units |
![]()
Additional support units | ||||||
กำลัง | |||||||
47,561[1]:36 | 10,900[1]:37 17 tanks[2] | ||||||
กำลังพลสูญเสีย | |||||||
2,336 killed 8,450 wounded[3] |
10,695 killed, 202 captured (183 foreign laborers, 19 Japanese soldiers)[1]:89[3] 17 tanks lost |
ยุทธการที่ปาเลลิว,รหัสนามว่า ปฏิบัติการสเทลเมท 2(Operation Stalemate II) โดยกองทัพสหรัฐ เป็นการสู้รบระหว่างสหรัฐและจักรวรรดิญี่ปุ่นในช่วงการทัพมาเรียนาและปาเลาของสงครามโลกครั้งที่สอง, ตั้งแต่กันยายน ถึง พฤศจิกายน ค.ศ. 1944 บนเกาะปาเลลิว
เหล่านาวิกโยธินสหรัฐของกองพลนาวิกโยธินที่ 1,และต่อมาทหารจากกองทัพสหรัฐคือกองพลทหารราบที่ 81,ได้ต่อสู้เข้ายึดครองสนามบินบนเกาะประการังขนาดเล็ก ยุทธการนี้เป็นส่วนหนึ่งของการทัพรุกรานขนาดใหญ่ที่เป็นรู้จักกันคือ ปฏิบัติการฟอเรเจอร์ (Operation Forager) ซึ่งได้ดำเนินตั้งแต่มิถุนายน ถึง พฤศจิกายน ค.ศ. 1944 ในภูมิภาคแปซิฟิก
พลตรี William Rupertus, ผู้บัญชาการแห่งกองพลนาวิกโยธินที่ 1, ได้คาดการณ์ว่าเกาะจะปลอดภัยภายในสี่วัน[4] อย่างไรก็ตาม,ภายหลังจากกองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่นต้องพบความปราชัยหลายครั้งในการทัพเกาะก่อนหน้านี้ ญี่ปุ่นได้พัฒนายุทธวิธีป้องกันเกาะใหม่และป้อมปราการที่ได้ถูกสร้างขึ้นเป็นอย่างดีซึ่งทำให้สามารถต้านทานได้อย่างแข็งแกร่ง[5] การสู้รบได้ยืดเยื้อผ่านไปมากกว่าสองเดือน ในสหรัฐ,นี่คือการสู้รบขัดแย้งเพราะความไม่แน่นอนในคุณค่าทางยุทธศาสตร์ของเกาะและอัตราการเสียชีวิตสูง,ซึ่งมากกว่าของปฏิบัติการสะเทิ้นน้ำสะเทิ้นบกอื่นๆทั้งหมดในช่วงระหว่างสงครามแปซิฟิก[6] พิพิธภัณฑ์ชาติของเหล่านาวิกโยธิน เรียกมันว่า "การสู้รบที่ดุเดือดของสงครามสำหรับเหล่านาวิกโยธิน"[7]
อ้างอิง[แก้]
- ↑ 1.0 1.1 1.2 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อMoran
- ↑ Taki, THE HISTORY OF BATTLES OF IMPERIAL JAPANESE TANKS.
- ↑ 3.0 3.1 The Stamford Historical Society: Peleliu Retrieved 27 Oct. 2015
- ↑ "Battle of Peleliu". World War 2 Facts. สืบค้นเมื่อ 14 January 2014.
- ↑ Video: Third Army blasts Nazi Strongholds, 1944/11/02 (1944). Universal Newsreel. 1944. สืบค้นเมื่อ February 21, 2012.
- ↑ Military History Online – Bloody Peleliu: Unavoidable Yet Unnecessary
- ↑ "World War II: Central Pacific Campaigns: Peleliu". National Museum of the Marine Corps. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ March 3, 2016. สืบค้นเมื่อ 2012-02-07. Unknown parameter
|deadurl=
ignored (help)