ยานสำรวจน้ำลึกตรีเอสเต

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ยานสำรวจน้ำลึกตรีเอสเต
ยานสำรวจน้ำลึกตรีเอสเตหลังจากถูกซื้อโดยกองทัพเรือสหรัฐในปีค.ศ.1958
ประวัติ
ตรีเยสเต, ประเทศอิตาลี
ชื่อตรีเยสเต
อู่เรือAcciaierie Terni/Cantieri Riuniti dell'Adriatico
เดินเรือแรก26 สิงหาคม ค.ศ.1953
ความเป็นไปขายให้กับกองทัพเรือสหรัฐ, ค.ศ.1958
 สหรัฐ
ชื่อตรีเอสเต
ส่งมอบเสร็จ1958
ปลดระวาง1966
เปลี่ยนระดับDSV-0, 1 มิถุนายน ค.ศ.1971
ความเป็นไปถูกเก็บที่พิพิธภัณฑ์กองทัพเรือสหรัฐ
ลักษณะเฉพาะ
ประเภท: ยานสำรวจน้ำลึก
ขนาด (ระวางขับน้ำ): 50 long ton (51 เมกะกรัม)
ความยาว: 59 ฟุต 6 นิ้ว (18.14 เมตร)
ความกว้าง: 11 ฟุต 6 นิ้ว (3.51 เมตร)
กินน้ำลึก: 18 ฟุต 6 นิ้ว (5.64 เมตร)
อัตราเต็มที่: สอง

ตรีเยสเต (อิตาลี: Trieste) เป็นยานสำรวจน้ำลึกเพื่อการวิจัยที่ชาวสวิสออกแบบและชาวอิตาลีสร้าง ลูกเรือสองคนของเรือลำนี้ลงไปถึงความลึกสูงสุดเป็นสถิติประมาณ 10,911 เมตรในส่วนที่ลึกที่สุดเท่าที่ทราบของมหาสมุทรของโลก คือ แชลเลนเจอร์ดีปในร่องลึกมาเรียนา ใกล้กวมในมหาสมุทรแปซิฟิก ตรีเยสเตเป็นยานที่มีผู้โดยสารลำแรกที่ถึงก้นแชลเลนเจอร์ดีป[1]

อ้างอิง[แก้]

  1. "First Trip to the Deepest Part of the Ocean The Bathyscaphe Trieste carried two hydronauts to the Challenger Deep in 1960". Geology.com. 2005-2015 Geology.com. สืบค้นเมื่อ 27 April 2015.