มาเก๊าของโปรตุเกส
หน้าตา
มาเก๊าของโปรตุเกส 葡屬澳門 | |||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ค.ศ. 1557–ค.ศ. 1999 | |||||||||
เพลงชาติ: Hymno Patriótico (1808–1826) "Patriotic Anthem" Hino da Carta (1826–1911) "Hymn of the Charter" A Portuguesa (1911–1999) "The Portuguese" | |||||||||
สถานะ | เขตสัมปทาน (1557-1887) อาณานิคม (1887-1955) จังหวัดโพ้นทะเล (1955-1976) เขตปกครองตนเองของโปรตุเกส (1976-1999) | ||||||||
ภาษาราชการ | โปรตุเกส จีนกวางตุ้ง | ||||||||
ศาสนา | |||||||||
เดมะนิม | ชาวมาเก๊า | ||||||||
ประมุขแห่งรัฐ | |||||||||
• ค.ศ. 1557 | พระเจ้าฌูเอาที่ 3 (พระองค์แรก) | ||||||||
• ค.ศ. 1996–1999 | ประธานาธิบดีจอร์ช แซมเปโอ (คนสุดท้าย) | ||||||||
ผู้ว่าการ | |||||||||
• 1557–1558 | ฟรานซิสโก มาร์ติซ (คนแรก) | ||||||||
• ค.ศ. 1991–1999 | วาสโก โรชา ไวรา (คนสุดท้าย) | ||||||||
สภานิติบัญญัติ | สภามาเก๊า (1583–1849) สภานิติบัญญัติ (1976–1999) | ||||||||
ยุคประวัติศาสตร์ | ยุคแห่งการสำรวจ สมัยใหม่ตอนต้น สมัยใหม่ตอนปลาย | ||||||||
• ก่อตั้งนิคมโปรตุเกส | ค.ศ. 1557 | ||||||||
1 ธันวาคม ค.ศ. 1887 | |||||||||
ค.ศ. 1966–1967 | |||||||||
20 ธันวาคม ค.ศ. 1999 | |||||||||
ประชากร | |||||||||
• ค.ศ. 1998 ประมาณ | 409,620 [1] | ||||||||
จีดีพี (อำนาจซื้อ) | (ประมาณ) | ||||||||
• ต่อหัว | 34,091 ดอลลาร์สหรัฐ | ||||||||
จีดีพี (ราคาตลาด) | ค.ศ. 1998 [2] (ประมาณ) | ||||||||
• รวม | 6,79 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ | ||||||||
• ต่อหัว | 16,595 ดอลลาร์สหรัฐ | ||||||||
สกุลเงิน | ปาตากามาเก๊า (ค.ศ. 1894–1999) | ||||||||
โดเมนบนสุด | .mo | ||||||||
| |||||||||
ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของ | |||||||||
1 ภาษาจีนได้รับการรับรองให้เป็นภาษาราชการใน ค.ศ. 1991 สำเนียงกวางตุ้งเป็นสำเนียงที่ใช้กันมากที่สุด[3] |
มาเก๊าของโปรตุเกส เป็นอาณานิคมโปรตุเกสที่เกิดขึ้นจากการตั้งถิ่นฐานของชาวโปรตุเกสใน ค.ศ. 1557 จนกระทั่งสมัยอาณานิคมสิ้นสุดลง และยกอำนาจอธิปไตยมาเก๊าให้กับสาธารณรัฐประชาชนจีนใน ค.ศ. 1999 มาเก๊าเป็นดินแดนที่ยุโรปถือครองในจีนดินแดนแรกและสุดท้าย[4]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ https://data.worldbank.org/indicator/SP.POP.TOTL?locations=MO&most_recent_value_desc=false
- ↑ https://data.worldbank.org/indicator/NY.GDP.MKTP.CD?locations=MO
- ↑ Yee, Herbert S. (2001). Macau in Transition: From Colony to Autonomous Region. Hampshire: Palgrave. p. 57. ISBN 978-0-230-59936-9.
- ↑ Dillon, Michael (2017). Encyclopedia of Chinese History. New York: Routledge. p. 418. ISBN 978-1-315-81853-5.
บรรณานุกรม
[แก้]- Cardinal, Paulo (2009). "The Judicial Guarantees of Fundamental Rights in the Macau Legal System". In One Country, Two Systems, Three Legal Orders - Perspectives of Evolution: Essays on Macau's Autonomy After the Resumption of Sovereignty by China. Berlin: Springer. ISBN 978-3-540-68572-2.
- Fei, Chengkang (1996). Macao 400 Years. Translated by Wang Yintong and Sarah K. Schneewind. Shanghai: Shanghai Academy of Social Sciences.
- Halis, Denis de Castro (2015). "'Post-Colonial' Legal Interpretation in Macau, China: Between European and Chinese Influences". In East Asia's Renewed Respect for the Rule of Law in the 21st Century. Leiden: Brill Nijhoff. ISBN 978-90-04-27420-4.
- Hao, Zhidong (2011). Macao History and Society. Hong Kong: Hong Kong University Press. ISBN 978-988-8028-54-2.
- Mendes, Carmen Amado (2013). Portugal, China and the Macau Negotiations, 1986–1999. Hong Kong: Hong Kong University Press. ISBN 978-988-8139-00-2.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อที่เกี่ยวข้องกับ มาเก๊าของโปรตุเกส
- Gunn, Geoffrey C. (1996). Encountering Macau, A Portuguese City-State on the Periphery of China, 1557–1999. Westview Press. ISBN 0-8133-8970-4.
- Official website of the Portuguese Government of Macau (Web archive) (ในภาษาโปรตุเกส) (1999)