ข้ามไปเนื้อหา

มัสยิดวะซีร์ ข่าน

พิกัด: 31°34′59″N 74°19′24″E / 31.58306°N 74.32333°E / 31.58306; 74.32333
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
มัสยิดวะซีร์ ข่าน
مسجد وزیر خان
ศาสนา
ศาสนาศาสนาอิสลาม
เขตลาฮอร์
จังหวัดแคว้นปัญจาบ
สถานะองค์กรมัสยิด
ที่ตั้ง
ประเทศปากีสถาน
พิกัดภูมิศาสตร์31°34′59″N 74°19′24″E / 31.58306°N 74.32333°E / 31.58306; 74.32333
สถาปัตยกรรม
ประเภทมัสยิด และ ดัรกาห์
รูปแบบอินโดอิสลาม/โมกุล
ลงเสาเข็ม1634
เสร็จสมบูรณ์3 ธันวาคม 1641
ลักษณะจำเพาะ
โดม5
ความสูงโดม (ภายนอก)21 ฟุต (6.4 เมตร)
ความสูงโดม (ภายใต้)32 ฟุต (9.8 เมตร)
ขนาดโดม (ภายนอก)19 ฟุต (5.8 เมตร)
ขนาดโดม (ภายใน)23 ฟุต (7.0 เมตร)
หอคอย4
ความสูงหอคอย107 ฟุต (33 เมตร)

มัสยิดวะซีร์ ข่าน (ปัญจาบ และ อูรดู: مسجد وزیر خان ; เปอร์เซีย: مسجد وزیر خان; Masjid Wazīr Khān) เป็นมัสยิดสร้างขึ้นในศตวรรษที่ 17 ตั้งอยู่ในนครลาฮอร์ แคว้นปัญจาบ ประเทศปากีสถาน สร้างขึ้นภายใต้ดำริของจักรพรรดิโมกุล ชาห์จะฮาน เพื่อเป็นส่วนหนึ่งของหมู่สิ่งก่อสร้างที่รวมถึงชาฮีฮัมมัน มัสยิดเริ่มก่อสร้างในปี 1634 แล้วเสร็จในปี 1641[1] ปัจจุบันได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นรายชื่อแหล่งมรดกโลกเบื้องต้น[2]

มัสยิดนี้ถือเป็นหนึ่งในมัสยิดยุคโมกุลที่มีการประดับประดาตระการตามากที่สุด[3] และเป็นที่รู้จักจากงานกระเบื้องเคลือบดีบุก ซึ่งเป็นที่รู้จักในชื่อ kashi-kari และพื้นผิวภายในที่ทั้งหมดแทบจะประดับไปด้วยงานเขียนเฟรสโกยุคโมกุล นับตั้งแต่ปี 2009 ได้เริ่มมีการบูรณะมัสยิดครั้งใหญ่ภายใต้การดูแลของทรัสต์อากา ข่านและรัฐบาลแคว้นปัญจาบ[4] รวมถึงการสนับสนุนโดยรัฐบาลของเยอรมนี, นอร์เวย์ และสหรัฐ[5]

ระเบียงภาพ

[แก้]

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Conservation of the Wazir Khan Mosque Lahore: Preliminary Report on Condition and Risk Assessment" (PDF). Aga Khan Development Network. 2012. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-08-27. สืบค้นเมื่อ 25 August 2016. The Wazir Khan Mosque was built in 1634-35 AD (1044-45 AH), by Hakim 'Ali ud din* a governor of Punjab in the early part of the reign of the Mughal emperor Shah Jahan.
  2. "Badshahi Mosque, Lahore". UNESCO World Heritage Centre. UNESCO. สืบค้นเมื่อ 7 May 2020.
  3. Masson, Vadim Mikhaĭlovich (2003). History of Civilizations of Central Asia: Development in contrast : from the sixteenth to the mid-nineteenth century. UNESCO. ISBN 9789231038761.
  4. "Walled city of Lahore conservation". สืบค้นเมื่อ 25 August 2016. The Walled city of Lahore is famous for several historic monuments including the Lahore Fort – a World Heritage site, the Badshahi and Wazir Khan mosques. Close to 2,000 buildings within the Walled city display a range of architectural features that mark Lahore’s centuries-old cultural landscape. A majority of these buildings and the mohallas (local neighbourhoods) in which they are situated form a unique heritage footprint. The work consequently carried out by the Aga Khan Trust for Culture (AKTC) and the Aga Khan Historic Cities Programme (AKHCP) was initiated under a 2007 public-private partnership framework agreement with the Government of Punjab.
  5. Muzaffar, Zareen (8 February 2016). "The Walled City of Lahore: Protecting Heritage and History". The Diplomat. สืบค้นเมื่อ 25 August 2016. The Walled City of Lahore program was put into effect in partnership with the Aga Khan Trust for Culture. AKTC supports the Walled City Authority in all technical matters in terms of restoration and conservation work being carried out. Other donors include the World Bank, Royal Norwegian Government, USAID, and the German Embassy.

บรรณานุกรม

[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]

วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ Wazir Khan Mosque