มักตึมกูลือ ปือรากือ
หน้าตา
มักตึมกูลือ ปือรากือ | |
---|---|
แสตมป์สมัยสหภาพโซเวียตที่มีภาพมักตึมกูลือ ปือรากือ ค.ศ. 1983 | |
เกิด | มักตึมกูลือ ประมาณ ค.ศ. 1724 หรือ 18 พฤษภาคม ค.ศ. 1733[1][2][3] (ข้อมูลต่างกัน) ฮาญีกูชาน, เกรตเตอร์โคราซาน, จักรวรรดิซาฟาวิด[4] |
เสียชีวิต | ประมาณ ค.ศ. 1807 (อายุ 74–83 ปี)[3] Giňjaý, Akdepe (บริเวณใกล้เคียงกับแม่น้ำเอ็ตเร็ก), โคราซาน, อิหร่านสมัยราชวงศ์กอญัร[5] |
ที่ฝังศพ | Aq Taqeh-ye Qadim, จังหวัดโกเลสถาน, ประเทศอิหร่าน[6] |
นามปากกา | ปือรากือ (เฟราฆี)[7] |
อาชีพ | กวี, ศูฟี[8] |
ภาษา | เติร์กเมน, เปอร์เซีย, อาหรับ[9] |
สัญชาติ | เติร์กเมน[10] |
จบจาก | มัดเราะซะฮ์อิดรีส บาบา, มัดเราะซะฮ์ Gögeldaş (เอมิเรตบูคารา), มัดเราะซะฮ์ Şirgazy (รัฐข่านคีวา)[11] |
ช่วงเวลา | ยุคทองของวรรณกรรมเติร์กเมน[12] |
แนว | กวีนิพนธ์รูปแบบ qoshuk[13] |
หัวข้อ | ความรักประเทศชาติ, ความเหลื่อมล้ำทางสังคม, ความรัก[14] |
แนวร่วมในทางวรรณคดี | สัจนิยม[15] |
ผลงานที่สำคัญ | Türkmeniň[16] |
คู่สมรส | Akgyz (เป็นที่โต้แย้ง)[17] |
บุตร | ลูกชาย 2 คน[18] |
บิดามารดา | Döwletmämmet Azady, Orazgül (เป็นที่โต้แย้ง)[19] |
มักตึมกูลือ ปือรากือ (เติร์กเมน: Magtymguly Pyragy; เปอร์เซีย: مختومقلی فراغی Makhtumqoli Faraghi; ตุรกี: Mahtumkulu Firaki;[20] ประมาณ ค.ศ. 1724–1733 ถึงประมาณ ค.ศ. 1807) เป็นผู้นำทางจิตวิญญาณ, กวีปรัชญา และศูฟีชาวเติร์กเมนที่ถือเป็นบิดาของวรรณกรรมเติร์กเมน[21] และเป็นบุคคลที่มีชื่อเสียงมากที่สุดในประวัติวรรณคดีเติร์กเมน[22]
ชาวเติร์กเมนหลายคนถือว่า ผลงานทั้งหมดของมักตึมกูลือเป็นจุดสุดยอดของวรรณกรรมเติร์กเมน และมักพบในบริเวณที่มีผู้พูดภาษาเติร์กเมน ชีวิตและบทกวีของเขาส่งอิทธิพลต่องานเขียนภาษาเติร์กเมนหลังคริสต์ศตวรรษที่ 18 มากกว่าผลงานของนักเขียนใด ๆ ทั้งสิ้น[23]
ในบริบทที่กว้างขึ้น มักตึมกูลือมักได้รับการยกย่องเท่าเทียมกับบุคคลสำคัญในโลกวรรณกรรมเตอร์กิก เช่น โฮจา อาฮ์มัด ยาซาวี, ยูนุส เอ็มเร, อะลี-ชีร์ นาวะอี, ฟูซูลิ เป็นต้น[24]
ดูเพิ่ม
[แก้]- ประวัติศาสตร์เติร์กเมนิสถาน
- วรรณกรรมเติร์กเมน
- ดนตรีเติร์กเมน
- บักชี
- ลัทธิศูฟี
- เดิวเลตแมมเมต อาซาดือ (Döwletmämmet Azady)
- รางวัลนานาชาติมักตึมกูลือ
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "Baku marks 290th anniversary birthday of Magtymguly Pyragy". AzerNews. 17 May 2014. สืบค้นเมื่อ 18 May 2014.
- ↑ "Participation of the delegation of Turkmenistan in the arrangements in honor of the 290th anniversary of Magtymguly Pyragy". Ministry of Foreign Affairs of Turkmenistan. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 May 2014. สืบค้นเมื่อ 18 May 2014.
- ↑ 3.0 3.1 "Magtymguly Fragi's biography". Medeniýet. Ministry of Culture of Turkmenistan. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 May 2014. สืบค้นเมื่อ 18 May 2014.
- ↑ Imamkuliyeva, Irina. "Balkan velayat - a picturesque, fertile land with ancient history and distinctive traditions (AIMAG 2017)". Turkmenistan.
- ↑ Magtymguly, Selected Poems (in Turkmen). Ashgabat. 1941. p. 14.
- ↑ Magtymguly, Source of Inspiration (in Turkmen). Ashgabat: Turkmen State Printing Service. 2014. p. 132.
- ↑ Ashyrov, Annagurban (2014). Analysis of Magtymguly's Manuscripts (in Turkmen). Ashgabat: Turkmen State Printing Service. p. 33.
- ↑ Magtymguly, Source of Inspiration (in Turkmen). Ashgabat: Turkmen State Printing Service. 2014. p. 13.
- ↑ Ashyrov, Annagurban (2014). Analysis of Magtymguly's Manuscripts (in Turkmen). Ashgabat: Turkmen State Printing Service. p. 27.
- ↑ Magtymguly, Source of Inspiration (in Turkmen). Ashgabat: Turkmen State Printing Service. 2014. p. 23.
- ↑ "Magtymguly Pyragy". Gollanma, Information center.
- ↑ Geldiyew, G (2016). Edebiýat (Literature). Ashgabat: Ministry of Education of Turkmenistan.
- ↑ Ashyrov, Annagurban (2014). Analysis of Magtymguly's Manuscripts (in Turkmen). Ashgabat: Turkmen State Printing Service. p. 69.
- ↑ Ashyrov, Annagurban (2014). Analysis of Magtymguly's Manuscripts (in Turkmen). Ashgabat: Turkmen State Printing Service. p. 198.
- ↑ Magtymguly, Source of Inspiration (in Turkmen). Ashgabat: Turkmen State Printing Service. 2014. p. 14.
- ↑ Ashyrov, Annagurban (2014). Analysis of Magtymguly's Manuscripts (in Turkmen). Ashgabat: Turkmen State Printing Service. p. 213.
- ↑ Ashyrov, Annagurban (2014). Analysis of Magtymguly's Manuscripts (in Turkmen). Ashgabat: Turkmen State Printing Service. p. 332.
- ↑ "Magtymguly Pyragy". Gollanma, Information center.
- ↑ Magtymguly, Selected Poems. Vol. 1 (in Turkmen). Ashgabat. 1983. p. 26.
- ↑ Gudar, Nurcan Oznal (2016). Mahtumkulu Guldeste. Istanbul: Salon Yayinlari. p. 13. ISBN 978-605-9831-48-2.
- ↑ "Turkmenistan Culture". Asian recipe.
- ↑ Levin, Theodore; Daukeyeva, Saida; Kochumkulova, Elmira (2016). Music of Central Asia. Indiana University press. p. 128. ISBN 978-0-253-01751-2.
- ↑ Ashyrov, Annagurban (2014). Analysis of Magtymguly's Manuscripts (in Turkmen). Ashgabat: Turkmen State Printing Service. pp. 9–12.
- ↑ Gudar, Nurcan Oznal (2016). Mahtumkulu Guldeste. Istanbul: Salon Yayinlari. p. 11. ISBN 978-605-9831-48-2.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อที่เกี่ยวข้องกับ มักตึมกูลือ ปือรากือ