ข้ามไปเนื้อหา

มะเร็งไส้ใหญ่และไส้ตรงแบบไม่มีติ่งเนื้อเมือกมากทางกรรมพันธุ์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
โรคลินช์
ชื่ออื่นโรคลินช์ (Lynch syndrome)[1]
ภาพจุลทรรศน์แสดงเซลล์ลิมโฟไซต์ที่ถูกมะเร็งแทรกแซง (ในมะเร็งลำไส้ใหญ่และไส้ตรง) ซึ่งเกี่ยวข้องกับก้อนเนื้อ MSI-H ซึ่งสามารถพบได้ในโรคลินช์
สาขาวิชาวิทยามะเร็ง

มะเร็งไส้ใหญ่และไส้ตรงแบบไม่มีติ่งเนื้อเมือกมากทางกรรมพันธุ์ (อังกฤษ: Hereditary nonpolyposis colorectal cancer; HNPCC) หรือ โรคลินช์ (อังกฤษ: Lynch syndrome) เป็นโรคทางกรรมพันธุ์ที่ถ่ายทอดแบบออโตโซมอลดอมิแนนต์ ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับความเสี่ยงสูงในการเกิดมะเร็งลำไส้ใหญ่, มะเร็งเยื่อบุโพรงมดลูก, รังไข่, กระเพาะ, ลำไส้เล็ก, ตับอ่อน, ท่อปัสสาวะตอนบน, สมอง และ ผิวหนัง[2] โรคนี้มีความเกี่ยวข้องกับความเสี่ยงสูงในการเกิดมะเร็งดังที่กล่าวมา เป็นผลมาจากการกลายพันธุ์ที่ทำให้การซ่อมแซมมิสแมตช์ของดีเอ็นเอเสื่อมคุณภาพลง

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Lynch syndrome | Genetic and Rare Diseases Information Center (GARD) – an NCATS Program". rarediseases.info.nih.gov. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-07-16. สืบค้นเมื่อ 4 October 2019.
  2. Kastrinos F, Mukherjee B, Tayob N, Wang F, Sparr J, Raymond VM, และคณะ (October 2009). "Risk of pancreatic cancer in families with Lynch syndrome". JAMA. 302 (16): 1790–5. doi:10.1001/jama.2009.1529. PMC 4091624. PMID 19861671.