มวน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
มวน
ช่วงเวลาที่มีชีวิตอยู่: ยุคคาร์บอนิเฟอรัส - ปัจจุบัน
กะแท้เป็นมวนชนิดหนึ่ง
มวนชนิดหนึ่ง
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Animalia
ไฟลัม: Arthropoda
ชั้น: Insecta
ชั้นฐาน: Neoptera
อันดับใหญ่: Paraneoptera
อันดับ: Hemiptera
Linnaeus, 1758
Suborders[1]

มวน ถือเป็นชื่อของแมลงชนิดหนึ่งซึ่งประกอบ 50,000 ถึง 80,000 ชนิด[2]เช่นกลุ่มของจักจั่น โดยมักมีขนาดตั้งแต่ 1 มิลลิเมตร (0.04 นิ้ว) ถึง 15 เซนติเมตร (6 นิ้ว) และมีปากที่สามารถดูดของเหลวได้[3]และชื่อของมวนยังเอาไวเรียกกลุ่มของหน่วยย่อย Heteroptera ด้วย[4]

โดยปกติคนเราจะเรียกว่าพวกแมลง, ด้วง, มวน รวมกันเป็นแมลงอย่างเดี่ยว เช่นการเรียกเต่าทองที่อยู่กลุ่มเดียวกับด้วงว่าเป็นแมลง[5][6]

โดยปกติพวกมันจะกินอาหารโดยใช้ปากดูดของเหลวจากต้นไม้หรือสัตว์และสิ่งมีชีวิตขนาดเล็ก มวนนั้นไม่ได้อาศัยอยู่บนบกอย่างเดียวแต่พวกมันก็อาศัยอยู่ในน้ำด้วย

มนุษย์มีปฏิสัมพันธุ์กับพวกมันมานานเพราะพวกมันหลายชนิดเป็นศัตรูพืชที่สำคัญโดยพวกมันจะทำลายพืชผลทางการเกษตรโดยการดูดน้ำเลี้ยงของต้นไม้และพวกมันยังเป็นพาหะของโรคร้ายแรงและไวรัสอีกด้วย

อนุกรมวิธานและวิวัฒนาการ[แก้]

ลักษณะ[แก้]

มวนเป็นชื่อของแมลงหลายชนิดในหลายวงศ์ เมื่อโตเต็มที่มีปีก 2 คู่ ปีกคู่หน้าค่อนข้างยาว แคบ เนื้อปีกบริเวณโคนแข็ง ปลายเป็นแผ่นบางอ่อน ปีกคู่หลังอ่อนเป็นแผ่นบางตลอด เมื่อพับปีกจะแบนราบไปตามสันหลัง แต่บางชนิดก็ไม่มีปีก ปากเป็นท่อยาวคล้ายเข็ม โผล่ทางด้านล่างบริเวณปลายหัว หลายชนิดปล่อยกลิ่นเหม็นได้และเป็นศัตรูพืช

ชีววิทยา[แก้]

วงจรชีวิต[แก้]

การเคลือนที่[แก้]

พวกมันมีการเคลื่อนที่หลายรูปแบบเช่นเดิน,บิน,เดินบนน้ำ,ว่ายน้ำ เป็นต้น

ว่ายน้ำและเดินบนน้ำ[แก้]

จิงโจ้น้ำที่เดินบนน้ำด้วยแรงตึงผิว

หลายสายพันธุ์ของมวนมีการปรับตัวให้มีการใช้ชีวิตอยู่ใต้น้ำเช่น แมลงป่องน้ำ, จิงโจ้น้ำ, แมลงดา มวนที่อยู่ใต้น้ำส่วนใหญ่เป็นสัตว์กินเนื้อ พวกมันมีขาที่คล้ายใบพายทำให้พวกมันว่ายน้ำได้ดี[2] ส่วนจิงโจ่น้ำที่สามารถเดินบนน้ำได้ก็เพราะพวกมันอาศัยแรงตึงผิวของน้ำ[7]และพวกมันเป็นมวนชนิดเดียวที่เคลื่อนที่ด้วยการเดินบนน้ำ

บิน[แก้]

มวนส่วนใหญ่สามารถบินได้แต่เป็นแค่ระยะทางสั้นๆและบินได้ไม่นาน แต่ถ้าพวกมันบินในขณะที่มีลมพัดพวกมันก็สามารถร่อนได้นานและไกลกว่าเดิมได้[8]

กระโดด[แก้]

ความหลากหลาย[แก้]

พวกมันเป็นลำดับที่ใหญ่ที่สุดของแมลงและแมลงที่ยังไม่โตเต็มวัยที่มีชนิดมากกว่า 75,000 ชนิด เช่น ผีเสื้อมี 160,000 ชนิด, แมลงมี 100,000 ชนิด และแตนมี 100,000 ชนิด[9] ซึ่งกลุ่มนี้มีความหลากหลายมากส่วนใหญ่มักจะอยู่บนและเป็นศัตรูพืชที่ร้ายกาจหลายชนิด แต่บางชนิดพบในแหล่งน้ำจืด เช่น จิงโจ้น้ำ, แมลงดา, แมลงดาสวน เป็นต้น[10]

บทบาททางนิเวศวิทยา[แก้]

ปฏิสัมพันธ์กับมนุษย์[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "Hemiptera". ระบบข้อมูลการจำแนกพันธุ์แบบบูรณาการ.
  2. 2.0 2.1 Jon Martin; Mick Webb. "Hemiptera...It's a Bug's Life" (PDF). Natural History Museum. สืบค้นเมื่อ July 26, 2010.
  3. "Hemiptera: bugs, aphids and cicadas". Commonwealth Scientific and Industrial Research Organisation. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-07-09. สืบค้นเมื่อ May 8, 2007.
  4. "Suborder Heteroptera – True Bugs". Bug guide. Iowa State University Entomology. n.d.
  5. Denmark, Harold; Mead, Frank; Fasulo, Thomas (April 2010). "Lovebug, Plecia nearctica Hardy". Featured Creatures. University of Florida/IFAS. สืบค้นเมื่อ 22 September 2010.
  6. "Melolontha melolontha (cockchafer or May bug)". Natural History Museum. สืบค้นเมื่อ 12 July 2015.
  7. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Bush
  8. Loxdale, H. D.; Hardie, J.; Halbert, S.; Foottit, R.; Kidd, N. A. C.; Carter, C. I. (1993). "The relative importance of short- and long-range movement of flying aphids". Biological Reviews. 68: 291–311. doi:10.1111/j.1469-185X.1993.tb00998.x.
  9. "Insect groups (Orders)". Amateur Entomologists' Society. สืบค้นเมื่อ 16 July 2015.
  10. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Coulson