มณฑลฝูเจี้ยน (สาธารณรัฐจีน)

พิกัด: 24°25′N 118°19′E / 24.417°N 118.317°E / 24.417; 118.317
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
มณฑลฝูเจี้ยน, มณฑลฮกเกี้ยน

福建省
การถอดเสียงชื่อ
 • ภาษาจีน福建省 (Fújiàn Shěng)
 • อักษรย่อFJ / (พินอิน: Mǐn, POJ: Bân)
 • ภาษาถิ่นฝูโจวHók-gióng
 • เป่อ่วยจีภาษาฮกเกี้ยนHok-kiàn
ตราอย่างเป็นทางการของมณฑลฝูเจี้ยน, มณฑลฮกเกี้ยน
ตราของมณฑลฝูเจี้ยน
แผนที่แสดงเขตการปกครองที่ขึ้นกับมณฑลฝูเจี้ยน (ในนาม) ในปี 2019
แผนที่แสดงเขตการปกครองที่ขึ้นกับมณฑลฝูเจี้ยน (ในนาม) ในปี 2019
พิกัด: 24°25′N 118°19′E / 24.417°N 118.317°E / 24.417; 118.317
ประเทศ สาธารณรัฐจีน
แคว้นเจียงหนานตง626
แคว้นฝูเจี้ยน985
การแบ่งส่วนไต้หวัน1887
รัฐบาลปฏิวัติประชาชนฝูเจี้ยน20 พฤศจิกายน 1933 ถึง 13 มกราคม 1934
การแบ่งแยกฝูเจี้ยน17 สิงหาคม 1949
ปรับปรุงให้คล่องตัว16 กรกฎาคม 1956
ปลอดทหาร7 พฤศจิกายน 1992
ยุบ31 ธันวาคม 2018
ตั้งชื่อจาก
เมืองหลวงมณฑลไม่มี[หมายเหตุ 1]
การปกครอง
 • องค์กรศูนย์บริการร่วมจินเหมิน-หมาจู่[หมายเหตุ 2]
พื้นที่
 • 1948121,580 ตร.กม. (46,940 ตร.ไมล์)
 • 2018180.4560 ตร.กม. (69.6745 ตร.ไมล์)
ประชากร
 (2014)
 • ทั้งหมด133,456 คน
เดมะนิมชาวฝูเจี้ยน (Fujianese, Fukienese), ชาวจินเหมิน (Kinmenese), ชาวหมาจู่ (Matsunese)
เขตเวลาUTC+8 (เวลาไทเป)
รหัสไปรษณีย์209–212, 890–896
รหัสพื้นที่(0)82, (0)826, (0)836
รหัส ISO 3166TW
เทศมณฑล2
เว็บไซต์www.fkpg.gov.tw
ฝูเจี้ยน
"ฝูเจี้ยน" เขียนด้วยตัวอักษรจีน
ภาษาจีน福建
ไปรษณีย์Fukien
ความหมายตามตัวอักษร"ฝู(โจว) และ เจี้ยน(โจว)"
อักษรย่อ
อักษรจีนตัวเต็ม
อักษรจีนตัวย่อ
ความหมายตามตัวอักษรแม่น้ำหมิ่น
มณฑลฝูเจี้ยน
ภาษาจีน福建
ที่ตั้งของมณฑลฝูเจี้ยนโดยนิตินัย ซึ่งอยู่ภายใต้อาณาเขตโดยนิตินัยของสาธารณรัฐจีน

มณฑลฝูเจี้ยน หรือ มณฑลฮกเกี้ยน ([fǔ.tɕjɛ̂n] ( ฟังเสียง); เป่อ่วยจีภาษาฮกเกี้ยน: Hok-kiàn; อักษรโรมันภาษาถิ่นฝูโจว: Hók-gióng; อักษรโรมันภาษาหมิ่นผูเซียน: Ho̤h-ge̤̍ng) เป็นมณฑลในนามของสาธารณรัฐจีน ซึ่งไม่มีหน้าที่ในการบริหารอย่างเป็นทางการ ประกอบด้วยหมู่เกาะเล็ก ๆ 3 แห่งนอกชายฝั่งมณฑลฝูเจี้ยนของสาธารณรัฐประชาชนจีน ได้แก่ หมู่เกาะหมาจู่ ประกอบเป็นเทศมณฑลเหลียนเจียง, และหมู่เกาะอูชิวกับหมู่เกาะจินเหมิน ประกอบเป็นเทศมณฑลจินเหมิน ที่ตั้งของรัฐบาลท้องถิ่นของมณฑลคือ เมืองจินเฉิง ซึ่งตั้งอยู่ในเทศมณฑลจินเหมิน[หมายเหตุ 3]

มณฑลฝูเจี้ยนในปัจจุบันที่อยู่ภายใต้การปกครองของสาธารณรัฐจีน ครั้งหนึ่งเคยเป็นส่วนหนึ่งของมณฑลฝูเจี้ยนที่มีขนาดใหญ่กว่า ซึ่งประกอบด้วยส่วนที่เป็นแผ่นดินใหญ่และส่วนที่เป็นเกาะ หลังสงครามกลางเมืองจีนในปี 1949 พื้นที่ส่วนใหญ่ของมณฑลในอดีตกลายเป็นมณฑลฝูเจี้ยน สาธารณรัฐประชาชนจีน ในขณะที่เกาะที่เหลือยังคงอยู่ภายใต้การปกครองของสาธารณรัฐจีน ซึ่งมีพื้นที่คิดเป็น 0.5% ของดินแดนภายใต้สาธารณรัฐจีน

การแบ่งเขตการปกครอง[แก้]

มณฑลฝูเจี้ยนในนามประกอบด้วย 2 เทศมณฑล ได้แก่ เทศมณฑลจินเหมิน และเทศมณฑลเหลียนเจียง เกาะเหล่านี้มีพื้นที่ทั้งหมด 182.66 ตารางกิโลเมตร (70.53 ตารางไมล์) และมีประชากรทั้งหมด 71,000 คน (2001)

ต่อไปนี้เป็นเกาะต่าง ๆ ของมณฑลฝูเจี้ยนภายใต้การบริหารของสาธารณรัฐจีน แบ่งตามเทศมณฑล ดังนี้

ชื่อ เทศมณฑลจินเหมิน เทศมณฑลเหลียนเจียง
อักษรจีน 金門縣 連江縣
ภาษาฮกเกี้ยน Kim-mn̂g-koān Liân-kang-koān
ภาษาแคะ Kîm-mùn-yen Lièn-kông-yen
ภาษาหมาจู่ Gĭng-muòng-gâing Lièng-gŏng-gâing
ภาษาอูชิว Ging-meóng-gā̤ⁿ Léng-gang-gā̤ⁿ
แผนที่
เกาะ เกาะและเกาะขนาดเล็กจำนวนมาก[1][2][3] 36 เกาะ
เขตการปกครอง 3 เมือง, 3 ตำบล 4 ตำบล

สาธารณรัฐประชาชนจีนอ้างสิทธิ์หมู่เกาะจินเหมินว่าเป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดเฉวียนโจว มณฑลฝูเจี้ยน และหมู่เกาะหมาจู่ว่าเป็นตำบลหนึ่งในอำเภอเหลียนเจียง จังหวัดฝูโจว มณฑลฝูเจี้ยน (และมีบางเกาะที่อ้างสิทธิ์ว่าเป็นส่วนหนึ่งของพื้นที่อื่น ๆ อีก)

ดูเพิ่ม[แก้]

หมายเหตุ[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. 金門縣行政區域圖 (ภาษาจีนกลางสำเนียงไต้หวัน). สืบค้นเมื่อ 9 August 2019. 北碇島 母嶼 白巖 草嶼 東割 烽遂角 后嶼 官澳礁 西園嶼 建功嶼 黑巖 大巖嶼 烏礁 桂子礁 獅嶼 牛心礁 小擔 檳榔嶼 烈嶼 復興嶼 猛虎嶼 兔嶼 石山 大膽島 二擔島 三擔島 四擔島 五擔 大坵島 小坵島
  2. "金門地區限制(禁止)水域圖" (PDF) (ภาษาจีนกลางสำเนียงไต้หวัน). Mainland Affairs Council. สืบค้นเมื่อ 9 August 2019. 二.限制水域範圍:大金門地區低潮線向外延伸東方海面四千至六千公尺,南方海面八千至一萬公尺,北碇以東海面四千公 尺,大、二膽南海面二千公尺一線以內海域 三、禁止水域範圍:大金門地區低潮線向外延伸東方海面四千公尺,南方海面八千公尺,馬山北方一千五百公尺,北碇以東 海面四千公尺,大、二膽北、西、南海面二千公尺,小金門西海面、檳榔嶼、三腳礁、牛心礁、赤角礁一線以內海域
  3. 辞海第六版. Cihai (Sixth Edition) (ภาษาจีน). 上海. Shanghai: 上海辞书出版社. Shanghai Lexicographical Publishing House. September 2009. p. 1124. ISBN 9787532628599. 金门 县名。在福建省东南海上、泉州市西南部。现由台湾省管辖。由以金门岛为主的大、小59个岛屿组成。面积149平方千米,人口约6.45万(2004年)。明置金门千户所,清设金门县丞,属同安县。1913年改隶思明县,1914年析置金门县。1928年直属福建省。农产有甘薯、花生等。矿产有玻璃砂、高岭土、铝土、煤。工业有机械、食品等。特产贡糖、高粱酒、金门马等。通公路。名胜古迹有成功洞、鲁王墓、水尾塔等。{...}金门岛 亦称“大金门岛”、“吾洲屿”。在福建省东南部、厦门港口外台湾海峡中。属金门县,现由台湾省管辖。岛形如哑铃,东西宽,南北狭,中多丘陵,沿海多港湾、口岸。东西长约20千米,面积131.7平方千米。其西有小金门岛。名胜古迹有牧马侯(陈渊)祠、鲁王墓、海印寺、古岗湖、中山纪念林等。

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]