ภาษาอิเทิลเมน
หน้าตา
ภาษาอิเทิลเมน | |
---|---|
ภาษาคัมชาดัลตะวันตก, ภาษาอิเทิลเมนตะวันตก | |
итэнмэн Itənmən | |
ประเทศที่มีการพูด | รัสเซีย |
ภูมิภาค | คาบสมุทรคัมชัตคา |
ชาติพันธุ์ | ชาวอิเทิลเมนจำนวน 2,596 คน (2021) |
จำนวนผู้พูด | 808 (2020)[1] |
ตระกูลภาษา | ชูคอตโก-คัมชัตกัน
|
ระบบการเขียน | อักษรไซริลลิก |
รหัสภาษา | |
ISO 639-3 | itl |
![]() การกระจายตัวของประชากรผู้พูดภาษา อิเทิลเมนตะวันตกก่อนการมาถึงของชาติตะวันตกและภาษาอื่น ๆ ในตระกูลภาษาชูคอตโก-คัมชัตกัน | |
![]() ภาษาอิเทิลเมนถูกจัดลำดับเป็นภาษาใกล้สูญขั้นวิกฤตในแผนที่ชุดภาษาใกล้สูญของโลกโดย UNESCO | |
ภาษาอิเทิลเมน (Itelmen: Itənmən[2]) หรือ ภาษาอิเทิลเมนตะวันตก ซึ่งเดิมเรียกว่าภาษาคัมชาดัลตะวันตก เป็นภาษาที่อยู่ในตระกูลภาษาชูคอตโก-คัมชัตกันที่พูดกันบนชายฝั่งตะวันตกของคาบสมุทรคัมชัตคา มีผู้พูดเป็นภาษาแม่น้อยกว่าร้อยคน ซึ่งส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุ ตามข้อมูลของการสำรวจสำมะโนประชากรเมื่อปี 2021 มีจำนวน 2,596 คนที่เป็นชาวอิเทิลเมนดั้งเดิม ซึ่งปัจจุบันแทบทั้งหมดพูดภาษารัสเซียได้เพียงภาษาเดียว อย่างไรก็ตาม ในตัวคัมชัตคาเองก็มีความพยายามที่จะฟื้นฟูภาษานี้ขึ้นมา รวมทั้งมีการสอนภาษานี้ในโรงเรียนหลายแห่งในภูมิภาคนี้[3]
ภาษาอิเทิลเมน (ตะวันตก) เป็นภาษาในกลุ่มภาษาคัมชัตกันเพียงภาษาเดียวที่ยังคงหลงเหลืออยู่ มี 2 ภาษาย่อย คือ ภาษาย่อยทางตอนใต้ของฮายรยูโซโว (Khayryuzovo) และภาษาย่อยทางตอนเหนือของเซเดนกา (Sedanka)
บรรณานุกรม
[แก้]- Volodin, Aleksandr P. (1976). Itelแม่แบบ:Softsignmenskij jazyk. Leningrad: Izd. Nauka.
- Volodin, Aleksandr P. & Klavdija N. Chalojmova. (1989). Slovarแม่แบบ:Softsign itelแม่แบบ:Softsignmensko—russkij i russko—itelแม่แบบ:Softsignmenskij. Leningrad: Prosveščenie. ISBN 5-09-000106-5.
อ่านเพิ่มเติม
[แก้]- Bobaljik, Jonathan David. (2006). "Itelmen Reduplication: Edge-In Association and Lexical Stratification". Journal of Linguistics. 42, no. 1: 1-23.
- Bobaljik, Jonathan David, and Wurmbrand, Susi (2002). Notes on Agreement in Itelmen. Linguistic Discovery 1 (1). doi:10.1349/PS1.1537-0852.A.21.
- Dürr, Michael, Erich Kasten, and Klavdiya Khaloimova (2001). Itelmen language and culture. Münster [etc.]: Waxmann.
- Ono, Čikako, and Mėgumi Kurėbito (2003). "Tematičeskij slovarʹ i razgovornik severnogo (sedankinskogo) dialekta itelʹmenskogo jazyka" ("A lexicon of words and conversation phrases for the Itelmen northern dialect"). Endangered languages of the Pacific Rim, Series A2. Osaka: ELPR.
- Stefan Georg; Volodin, Alexander P. (1999). Die itelmenische Sprache. Wiesbaden: Harrassowitz. ISBN 3-447-04115-3.
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Том 5. «Национальный состав и владение языками». Таблица 7. Население наиболее многочисленных национальностей по родному языку
- ↑ Fortescue, Michael. 2005. Comparative Chukotko–Kamchatkan Dictionary. Trends in Linguistics 23. Berlin: Mouton de Gruyter.
- ↑ "Our Itelmen Language Cannot Be Separated From Our Land | Cultural Survival". www.culturalsurvival.org (ภาษาอังกฤษ). 2021-12-07. สืบค้นเมื่อ 2024-10-05.