ภาษาทัวเร็ก
ภาษาทัวเร็ก | |
---|---|
Tamasheq, Tamajaq, Tamahaq | |
ประเทศที่มีการพูด | ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() |
ภูมิภาค | ทะเลทรายสะฮารา |
ชาติพันธุ์ | ชาวทัวเร็ก |
จำนวนผู้พูด | [1] |
ตระกูลภาษา | แอโฟรเอชีแอติก
|
ระบบการเขียน | อักษรละติน, อักษรทิฟินาค |
รหัสภาษา | |
ISO 639-2 | tmh |
ISO 639-3 | tmh – รหัสรวม รหัสเอกเทศ: thv — [[ภาษาทาฮักการ์ต ทามาเช็ก]] taq — [[ภาษาทามาเช็ก]] ttq — [[ภาษาทาวัลลามเมต ทามาเช็ก]] thz — [[ภาษาทายาร์ต ทามาเช็ก]] |
ภาษาทัวเร็ก (Tuareg;/ˈtwɑrɛɡ/) หรือภาษาทามาเช็ก (Tamasheq, /ˈtæməʃɛk/, Tamajaq, ⵜⴰⵎⴰⵌⴰⵆ Tamahaq) เป็นภาษาใน กลุ่มภาษาเบอร์เบอร์ พูดโดยชาวทัวเร็กใน มาลี ไนเจอร์ แอลจีเรีย ลิเบีย และ บูร์กินาฟาโซ และมีผู้พูดเล็กน้อยในชาด.[2]
การเขียน[แก้]
ส่วนใหญ่ภาษาทัวเร็กเขียนด้วย อักษรละติน อักษรอาหรับ หรือ อักษรทิฟินาค ระบบ DNAFLA เป็นระบบมาตรฐานสำหรับการเขียนด้วยอักษรละตินในมาลีและบูร์กินาฟาโซ ในขณะที่ในไนเจอร์มีระบบที่ต่างออกไป มีความผันแปรในการใช้อักษรอาหรับและอักษรทิฟินาค [3]
อักษรอาหรับใช้โดยชาวเผ่าที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ศาสนาอิสลาม [4] อักษรทิฟินาคมีการใช้ที่จำกัด ใช้ในการเขียนมนต์คาถาลงบนใบปาล์ม [5]
ระบบ DNAFLA | อักษรทิฟินาค | อักษรอาหรับ |
---|---|---|
b | ![]() |
ب |
d | د | |
ḍ | ![]() |
ض |
f | ف | |
g | ݣ | |
j | ﭺ | |
ɣ | ![]() |
ﻍ |
h | ![]() |
ﻩ |
k | ![]() |
ک |
l | ﻝ | |
m | ![]() |
ﻡ |
n | ![]() |
ن |
q | ![]() |
ﻕ |
r | ![]() |
ﺭ |
s | ![]() |
ﺱ |
ṣ | ![]() |
ﺹ |
š | ﺵ | |
t | ﺕ | |
ṭ | ﻁ | |
w | ﻭ | |
x | ﺥ | |
y | ﻱ | |
z | ![]() |
ﺯ |
ẓ | หรือ ![]() |
ﻅ |
ž | หรือ ![]() |
ﺝ |
(ḥ) | ﺡ | |
(ç) | ﻉ |
ระบบ DNAFLA ไม่แสดงสระเสียงสั้นที่เริ่มต้นคำ แต่ใช้เครื่องหมาย < dd> (เช่น <Tămašăɣt> for [tămašăq]).[7]
ในบูร์กินาฟาโซมีแนวโน้มจะใช้อักษรห่วงแบบที่ใช้เขียน ภาษาฟูลา เช่น <ɗ ƭ>.[8]
อ้างอิง[แก้]
- Christiansen, Niels and Regula. 2002. Some verb morphology features of Tadaksahak . SIL Electronic Working Papers 2002-005. Dallas: SIL International. Online. URL: http://www.sil.org/silewp/abstract.asp?ref=2002-005.
- Heath, Jeffrey (2005). A grammar of Tamashek (Tuareg of Mali). Walter de Gruyter. p. 745. ISBN 3-11-018484-2.
- Sudlow, David. (2001). The Tamasheq of North-East Burkina Faso. Köln: Rüdiger Köppe Verlag.
- ↑ แม่แบบ:Ethnologue16
แม่แบบ:Ethnologue16
แม่แบบ:Ethnologue16
แม่แบบ:Ethnologue16 - ↑ Monique Jay, “Quelques éléments sur les Kinnin d’Abbéché (Tchad)". Études et Documents Berbères 14 (1996), 199-212 (ISSN 0295-5245 ISBN 2-85744-972-0).
- ↑ Sudlow (2001:33–36)
- ↑ Project: Orthography in a plurigraphic society: the case of Tuareg in Niger
- ↑ Penchoen, Thomas G. (1973). Tamazight of the Ayt Ndhir. Los Angeles: Undena Publications. p. 3.
- ↑ Sudlow (2001:28,35–36)
- ↑ Sudlow (2001:34)
- ↑ Sudlow (2001:33)