ภาษาคาวาร์-บาตี
ภาษาคาวาร์-บาตี | |
---|---|
Narsati | |
ประเทศที่มีการพูด | ปากีสถาน, อัฟกานิสถาน |
ภูมิภาค | ชิตรัล, คูนาร์ |
จำนวนผู้พูด | unknown (9,500 คน cited 1992)[1] |
ตระกูลภาษา | |
รหัสภาษา | |
ISO 639-3 | gwt |
ภาษาคาวาร์-บาตี มีชื่อเรียกในเขตชิตรัลว่าอรันดุอิวาร์เพราะใช้พูดในหมู่บ้านอรันดู ซึ่งเป็นหมู่บ้านใหญ่อยู่ด้านล่างของชิตรัลและข้ามแม่น้ำกุนาร์จากเบอร์กอตในอัฟกานิสถาน ในชิตรัลมีกองทหารตั้งอยู่ที่อรันดูเพื่อป้องกันการโจมตีของอัฟกานิสถาน มีผู้พูดภาษานี้ 9,000 คน อยู่ในปากีสถานเพียง 1,500 คน ที่เหลืออยู่ในอัฟกานิสถาน ชื่อ คาวาร์-บาตี หมายถึง "คำพูดของชาวคาวาร์"[2] ภาษาคาวาร์-บาตียังไม่ได้รับการศึกษาจากนักภาษาศาสตร์อย่างละเอียด ที่มีศึกษาไว้คือ George Morgenstierne (1926) และ Kendall Deckor (1992) จัดให้อยู่ในกลุ่มดาร์ดิก
อ้างอิง[แก้]
- ↑ ภาษาคาวาร์-บาตี at Ethnologue (14th ed., 2000).
- ↑ Decker, Kendall D. (1992). Languages of Chitral. Sociolinguistic Survey of Northern Pakistan, volume 5. Islamabad, Pakistan: National Institute of Pakistan Studies, Quaid-i-Azam University. pp. 153–154. ISBN 978-969-8023-15-7.
อ่านเพิ่ม[แก้]
- Decker, Kendall D. (1992) Languages of Chitral Islamabad, Pakistan: National Institute of Pakistan Studies, Quaid-i-Azam University, ISBN 969-8023-15-1 http://www.ethnologue.com/show_work.asp?id=32850
- Morgenstierne, Georg (1926) Report on a Linguistic Mission to Afghanistan Instituttet for Sammenlignende Kulturforskning, Serie C I-2. Oslo. ISBN 0-923891-09-9