ข้ามไปเนื้อหา

ภาษาคาบาร์เดีย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ภาษาคาบาร์เดีย
Kabardino-Cherkess
East Circassian
адыгэбзэ (къэбэрдейбзэ)
ออกเสียง[qabarˈdeːbza]qabardejbza
ประเทศที่มีการพูดประเทศรัสเซีย (ในสาธารณรัฐคาบาร์ดีโน-บัลคาเรียและสาธารณรัฐคาราไช-เชียร์เคสส์), ตุรกี, จอร์แดน, ซีเรีย, อิรัก
ภูมิภาคคอเคซัสเหนือ (Circassia)
ชาติพันธุ์ชาวาคาบาร์เดีย
จำนวนผู้พูด590,000  (2002–2010)[1]
ตระกูลภาษา
ระบบการเขียนอักษรซีริลลิก
อักษรละติน
อักษรอาหรับ
สถานภาพทางการ
ภาษาทางการ รัสเซีย
ภาษาชนกลุ่มน้อยที่รับรองใน อิสราเอล
 จอร์แดน
 ซีเรีย
 ลิเบีย
รหัสภาษา
ISO 639-2kbd
ISO 639-3kbd
บทความนี้มีสัญลักษณ์สัทอักษรสากล หากระบบของคุณไม่รองรับการแสดงผลที่ถูกต้อง คุณอาจเห็นปรัศนี กล่อง หรือสัญลักษณ์อย่างอื่นแทนที่อักขระยูนิโคด

ภาษาคาบาร์เดีย (คาบาร์เดีย: Къэбэрдей-Адыгэбзэ สำเนียงท้องถิ่น: [qabarˈdeːbza] qabardejbza; อะดีเกยา: Kъэбэртай-Aдыгабзэ/Kъэбэртайбзэ, อักษรโรมัน: Qəbərtay-Adıgabzə/Qəbərtaybzə) ใกล้เคียงกับภาษาอะดืยเกที่เป็นภาษากลุ่มคอเคซัสตะวันตกเฉียงเหนือ ส่วนใหญ่พูดในสาธารณรัฐคาบาร์ดีโน-บัลคาเรียและสาธารณรัฐคาราไช-เชียร์เคสส์ของประเทศรัสเซีย รวมทั้งในประเทศตุรกีและตะวันออกกลาง มีหน่วยเสียงพยัญชนะ 47-48 เสียง โดยเป็นเสียงเสียดแทรก 22-23 เสียง

สำเนียงที่สำคัญมีสองสำเนียงคือ สำเนียงเบสเลเนย์และสำเนียงเตเรค นักภาษาศาสตร์บางคนจัดให้ภาษาคาบาร์เดียเป็นสำเนียงของภาษาอะดีเก ผู้พูดภาษาคาบาร์เดียมักเรียกภาษาของตนว่า Adighabze ("Adyghe language") เขียนด้วยอักษรซีริลลิก มีระบบคำกริยาที่ซับซ้อนเช่นเดียวกับภาษากลุ่มคอเคซัสตะวันออกเฉียงเหนืออื่น ๆ เป็นภาษาสัมพันธการก ตั้งแต่ พ.ศ. 2547 ในตุรกีจัดให้มีโทรทัศน์ภาคภาษาคาบาร์เดียสำเนียงเตเรค ครึ่งชั่วโมงต่อสัปดาห์

อักขรวิธี

[แก้]

อักษรซีริลลิกในปัจจุบันเรียงได้ดังนี้ ส่วนอักษรละตินในอดีตดูคล้ายกับอักษรละตินในภาษาอะดีเกยา

ชุดตัวอักษรละตินของภาษาคาบาร์เดีย ฉบับ ค.ศ. 1930[2]
А а
[]
Э э
[a]
Б б
[b]
В в
[v]
Г г
[ɣ]
Гу гу
[ɡʷ]
Гъ гъ
[ʁ]
Гъу гъу
[ʁʷ]
Д д
[d]
Дж дж
[d͡ʒ] หรือ [ɡʲ]
Дз дз
[d͡z]
Е е
[ja/aj]
Ё ё
[jo]
Ж ж
[ʒ]
Жь жь
[ʑ]
З з
[z]
И и
[jə/əj]
Й й
[j]
К к
[k]
Ку ку
[]
Къ къ
[q]
Къу къу
[]
Кхъ кхъ
[q͡χ]
Кхъу кхъу
[q͡χʷ]
Кӏ кӏ
[t͡ʃʼ] หรือ [kʲʼ]
Кӏу кӏу
[kʷʼ]
Л л
[ɮ] or [l]
Лъ лъ
[ɬ]
Лӏ лӏ
[ɬʼ]
М м
[m]
Н н
[n]
О о
[aw/wa]
П п
[p]
Пӏ пӏ
[]
Р р
[r]
С с
[s]
Т т
[t]
Тӏ тӏ
[]
У у
[w/əw]
Ф ф
[f]
Фӏ фӏ
[]
Х х
[x]
Ху ху
[]
Хъ хъ
[χ]
Хъу хъу
[χʷ]
Хь хь
[ħ]
Ц ц
[t͡s]
Цӏ цӏ
[t͡sʼ]
Ч ч
[t͡ʃ]
Чӏ чӏ
[t͡ʃʼ]
Ш ш
[ʃ]
Щ щ
[ɕ]
Щӏ щӏ
[ɕʼ]
Ъ ъ
[ˠ]
Ы ы
[ə]
Ь ь
[ʲ]
Ю ю
[ju]
Я я
[jaː]
Ӏ
[ʔ]
Ӏу
[ʔʷ]

อ้างอิง

[แก้]
  1. ภาษาคาบาร์เดีย ที่ Ethnologue (23rd ed., 2020) Closed access
  2. Ţ. Borьquej. Ja pe ļевaqve. — Nalşьk, 1930.

ข้อมูล

[แก้]
  • Gordon, Matthew and Applebaum, Ayla. "Phonetic structures of Turkish Kabardian", 2006, Journal of the International Phonetic Association 36(2), 159-186.
  • Halle, Morris. "Is Kabardian a Vowel-Less Language?" Foundations of Language, Vol. 6, No. 1 (Feb., 1970), pp. 95–103.
  • Kuipers, Aert. "Phoneme and Morpheme in Kabardian", 1960, Janua Linguarum: Series Minor, Nos. 8–9. 's-Gravenhage: Mouton and Co.
  • John Colarusso (1992). A Grammar of the Kabardian Language. University of Calgary Press.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]