ภาวะผู้นำตามหลักจริยธรรม

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ภาวะผู้นำตามหลักจริยธรรม เป็นภาวะผู้นำที่ถูกชี้นำโดยการเคารพความเชื่อทางจริยธรรมและคุณค่า ตลอดจนเพื่อศักดิ์ศรีและสิทธิของผู้อื่น[1]: 22  จึงเกี่ยวข้องกับแนวคิด เช่น ความไว้วางใจ, ความซื่อสัตย์, การพิจารณา, เสน่ห์ และความเป็นธรรม[2]

จริยธรรมเกี่ยวข้องกับชนิดของคุณค่าและศีลธรรมของแต่ละบุคคล หรือสังคมเห็นสมควรหรือเหมาะสม นอกจากนี้ จริยธรรมยังเกี่ยวข้องกับความดีงามของบุคคล และแรงจูงใจของพวกเขา ซึ่งทางเลือกของผู้นำยังได้รับอิทธิพลจากการพัฒนาด้านคุณธรรมของพวกเขา[3]

อ้างอิง[แก้]

  1. Theresa Watts (2008). Business leaders' values and beliefs regarding decision making ethics. Morrisville, NC: LuLu.com. ISBN 9781435747685.
  2. Michael E. Brown, Linda K. Treviño, David A. Harrison (2005). Ethical leadership: A social learning perspective for construct development and testing. Organizational Behavior and Human Decision Processes 97 (2): 117-134. doi:10.1016/j.obhdp.2005.03.002 (ต้องรับบริการ)
  3. Northouse, Peter G.(2016)Leadership Theory and Practice Seventh Edition Los Angeles, CA: SAGE Publications.

หนังสืออ่านเพิ่ม[แก้]

  • Reilly, E. C. (2006). The future entering: Reflections on and challenges to ethical leadership. Educational Leadership and Administration, 18, 163-173
  • McQueeny, E.(2006). Making Ethics Come Alive. Business Communication Quarterly, 69(2), 158-170
  • Wee, H. Corporate Ethics: Right makes might. Business Week Online
  • Stansbury, J.(2009). Reasoned Moral Agreement: Applying discourse ethics within organizations. Business Ethics Quarterly. 19(1), 33-56
  • Seidman, D. (2010), Bloomberg Business Week. Ethical Leadership: An Operating Manual. 10, 1-2