ภาคมัณฑะเลย์
หน้าตา
ภาคมัณฑะเลย์ မန္တလေးတိုင်းဒေသကြီး | |
---|---|
การถอดเสียงเป็นอักษรโรมัน | |
• พม่า | manta.le: tuing: desa. kri: |
ที่ตั้งภาคมัณฑะเลย์ในประเทศพม่า | |
พิกัด: 21°0′N 95°45′E / 21.000°N 95.750°E | |
ประเทศ | พม่า |
ภูมิภาค | กลาง |
เมืองหลัก | มัณฑะเลย์ |
การปกครอง | |
• มุขมนตรี | มองโก้ |
พื้นที่ | |
• ทั้งหมด | 37,945.6 ตร.กม. (14,650.9 ตร.ไมล์) |
ประชากร (พ.ศ. 2557)[1] | |
• ทั้งหมด | 6,165,723 คน |
• ความหนาแน่น | 160 คน/ตร.กม. (420 คน/ตร.ไมล์) |
ประชากรศาสตร์ | |
• กลุ่มชาติพันธุ์ | พม่า, จีน, ไทใหญ่, ชิน, กะเหรี่ยง, เอเชียใต้ |
• ศาสนา | พุทธ, คริสต์, ฮินดู, อิสลาม |
เขตเวลา | UTC+6:30 (เวลามาตรฐานพม่า) |
รหัส ISO 3166 | MM-04 |
เว็บไซต์ | www |
มัณฑะเลย์ หรือ มานดะเล (พม่า: မန္တလေး, ออกเสียง: [máɰ̃.də.lé]) เป็นภาคหนึ่งของประเทศพม่า อยู่ในบริเวณภาคกลางของประเทศ มีอาณาเขตทางทิศตะวันตกติดกับภาคซะไกง์และภาคมะกเว ทิศตะวันออกติดกับรัฐฉาน และทิศใต้ติดกับดินแดนสหภาพเนปยีดอ เมืองหลวงของภาคคือมัณฑะเลย์ซึ่งตั้งอยู่ทางตอนกลางของภาค ภาคมัณฑะเลย์มีความสำคัญต่อเศรษฐกิจของพม่า โดยคิดเป็นร้อยละ 15 ของเศรษฐกิจของประเทศ
อาณาเขตติดต่อ
[แก้]ภาคมัณฑะเลย์มีตำแหน่งที่ตั้งดังนี้
- ทิศเหนือ ติดต่อกับภาคซะไกง์
- ทิศตะวันออก ติดต่อกับรัฐฉาน
- ทิศใต้ ติดต่อกับดินแดนสหภาพเนปยีดอ
- ทิศตะวันตก ติดต่อกับภาคมะกเว
การแบ่งเขตการปกครอง
[แก้]ภาคมัณฑะเลย์แบ่งออกเป็น 11 จังหวัด ซึ่งแบ่งย่อยอีกเป็น 28 อำเภอ ดังนี้
จังหวัด | อำเภอ | ||||
---|---|---|---|---|---|
อักษรไทย | อักษรพม่า | อักษรโรมัน | อักษรไทย | อักษรพม่า | อักษรโรมัน |
ปยีนอู้ลวีน | ပြင်ဦးလွင် | Pyinoolwin | ปยีนอู้ลวีน | ပြင်ဦးလွင် | Pyinoolwin |
เจาะแซ | ကျောက်ဆည် | Kyaukse | เจาะแซ | ကျောက်ဆည် | Kyaukse |
สิ่นไกง์ | စဉ့်ကိုင် | Sintgaing | |||
มยิต้า | မြစ်သား | Myittha | |||
มยี่นชาน | မြင်းခြံ | Myingyan | มยี่นชาน | မြင်းခြံ | Myingyan |
ตองตา | တောင်သာ | Taungtha | |||
นะโท่จี้ | နွားထိုးကြီး | Natogyi | |||
ญองอู้ | ညောင်ဦး | Nyaung-U | เจาะปะด้อง | ကျောက်ပန်းတောင်း | Kyaukpadaung |
ญองอู้ | ညောင်ဦး | Nyaung-U | |||
ยะแม่ที่น | ရမည်းသင်း | Yamethin | ยะแม่ที่น | ရမည်းသင်း | Yamethin |
ปยอ-บแว | ပျော်ဘွယ် | Pyawbwe | |||
เมะทีลา | မိတ္ထီလာ | Meiktila | เมะทีลา | မိတ္ထီလာ | Meiktila |
มะไลง์ | မလှိုင် | Mahlaing | |||
ตาซี | သာစည် | Thazi | |||
วู่น-ดวี่น | ဝမ်းတွင်း | Wundwin | |||
ออง-มเยตาซาน | အောင်မြေသာဇံ | Aungmyaythazan | ออง-มเยตาซาน | အောင်မြေသာဇံ | Aungmyaythazan |
ปะเตนจี้ | ပုသိမ်ကြီး | Patheingyi | |||
มะตะยา | မတ္တရာ | Madaya | |||
มะฮาออง-มเย | မဟာအောင်မြေ | Mahaaungmyay | มะฮาออง-มเย | မဟာအောင်မြေ | Mahaaungmyay |
ช่านเอ้ตาซาน | ချမ်းအေးသာဇံ | Chanayethazan | |||
ช่านเมียะตาซี | ချမ်းမြသာစည် | Chanmyathazi | |||
ปยีจี้ดะกูน | ပြည်ကြီးတံခွန် | Pyigyitagon | |||
อมรปุระ | အမရပူရ | Amarapura | อมรปุระ | အမရပူရ | Amarapura |
ตะเบะจี้น | သပိတ်ကျဉ်း | Thabeikkyin | ตะเบะจี้น | သပိတ်ကျဉ်း | Thabeikkyin |
สิ่นกู้ | စဉ့်ကူး | Singu | |||
โม่โกะ | မိုးကုတ် | Mogoke | |||
ตะด้าอู้ | တံတားဦး | Tada-U | ตะด้าอู้ | တံတားဦး | Tada-U |
งะซูน | ငါန်းဇွန် | Ngazun |
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Census Report. The 2014 Myanmar Population and Housing Census. Vol. 2. Naypyitaw: Ministry of Immigration and Population. May 2015. p. 17.