ฟูไฟเตอส์ (อัลบั้ม)
บทความนี้ได้รับแจ้งให้ปรับปรุงหลายข้อ กรุณาช่วยปรับปรุงบทความ หรืออภิปรายปัญหาที่หน้าอภิปราย
|
ฟูไฟเตอส์ | ||||
---|---|---|---|---|
สตูดิโออัลบั้มโดย | ||||
วางตลาด | 4 กรกฎาคม ค.ศ. 1995 | |||
บันทึกเสียง | ตุลาคม 17–23, 1994 | |||
สตูดิโอ | Robert Lang ซีแอตเทิล | |||
แนวเพลง | ||||
ความยาว | 44:24 | |||
ค่ายเพลง | ||||
โปรดิวเซอร์ |
| |||
ลำดับอัลบั้มของฟูไฟเตอส์ | ||||
| ||||
ซิงเกิลจากฟูไฟเตอส์ | ||||
|
ฟูไฟเตอร์ส (อังกฤษ: Foo Fighters) เป็นสตูดิโออัลบั้มเปิดตัว ของวงดนตรีออลเทอร์นาทิฟร็อกจากอเมริกัน ฟูไฟเตอร์ส วางจำหน่ายเมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม ค.ศ. 1995 โดยค่ายเพลงแคปิตอลเรเคิดส์เป็นฝ่ายวางจำหน่าย ผ่านทางค่าย รอสเวลเรเคิดส์ของ เดฟ โกรล โกรลแต่งเพลงและบันทึกอัลบั้มชุดนี้ด้วยตัวเอง โดยมีมือกีตาร์รับเชิญในส่วนหนึ่งของอัลบั้ม เกรก ดัลลี มีโปรดิวเซอร์อัลบั้มอย่าง บาเร็ต โจนส์ ที่มาเติมเต็มช่วยเหลืออัลบั้มให้ดียิ่งขึ้น โดยอัดอัลบั้มที่ โรเบิร์ตแลงสตูดิโอในเมืองซีแอตเทิล รัฐวอชิงตัน , ก่อนจะปล่อยอัลบั้มในราวปี 1994 โกรลกล่าวถึงกล่าวอัดอัลบั้มชุดนี้ว่าเขามีจุดประสงค์ทำเล่น ๆ สนุก ๆ โดยเขาอธิบายอย่างกะทะรัดว่า เป็นเหมือนอัลบั้มระบายความเศร้าใจหลังการเสียชีวิตของเพื่อนร่วมวงอย่าง เคริ์ธ โคเบน นักร้องนำจาก เนอร์วานา
หลังจากที่โกรลอัดอัลบั้มเสร็จสิ้น , เขาตัดสินใจใช้ชื่อ "ฟูไฟเดอร์ส" สำหรับโครงการดนตรีโดยเขาใช้เพื่อปิดบังตัวตน และแจกจ่ายเทปคาสเซ็ตของอัลบั้มดังกล่าวในหมู่เพื่อน , หลังจากนั้นเทปดังกล่าวเริ่มเป็นที่ได้รับความสนใจแก่[[ค่ายเพลง]ในหมู่มาก โกรลเซ็นสัญญากับแคปิตอลเรเคิดส์ อัลบั้มดังกล่าวได้รับการโปรโมตผ่านการแสดงสดอย่างกว้างขว้าง และจากผลงานซิงเกิลจำนวนหกซิงเกิล , ประกอบกับวิดิโอเพลงอีกสองเพลง อัลบั้มนี้มีเสียงวิจารณ์ไปเชิงทางบวก โดยคำชื่มชมจากการประพันธ์บทเพลงและการแสดง นอกจากนี้ยังมียอดรายได้ที่ทำให้พวกเขาประสบความสำเร็จ , จนกลายเป็นอัลบั้มที่มียอดขายสูงสุดเป็นลำดับที่สองใน สหรัฐอเมริกา และยังติดชาร์จอันดับที่ห้าใน สหราชอาณาจักร , แคนาดา , ออสเตรเลีย และ นิวซีแลนด์
เบื้องหลังอัลบั้ม
[แก้]หลังการเสียชีวิตของ เคิร์ต โคเบน นักร้องนำวงเนอร์วานา ในเดือนเมษายน ค.ศ. 1994, เดฟ โกรล มือกลองแห่งเนอร์วานา ระบุอาจมาจากภาวะความซึมเศร้า[1], ซึ่งทำให้โกรลไม่มีกระจิตใจในการเล่นดนตรีต่อ [2] ซึ่งเขายังลังเลว่าจะทำอะไรต่อไป ซึ่งเขามีความคิดที่จะล้มเลิกการเล่นดนตรีแล้วด้วยซ้ำ ,อย่างไรก็ตามมีคำเชิญชวนจากวงต่าง ๆ เช่น Danzig และ Tom Petty and The Heartbreakers ในการเข้ามาเป็นมือกลอง, "มันเป็นการเตือนตัวผมว่าผมยังอยู่ในเนอร์วานาเสมอ; ทุกครั้งที่ผมนั่งลงบนกลองชุด ผมจะคิดอยู่แบบนี้เสมอ"[3][4]
การแสดงสดของ เดฟ โกรล เกิดขึ้นจากการเสียชีวิตของเคิร์ต โคเบน แสดงร่วมกับวง The Backbeat Band ในงานประกาศรางวัล 1994 เอ็มทีวีมูฟวี่อะวอร์ด 1994 MTV Movie Awards ในเดือนมิถุนายน , เขาถูกชักชวนโดย ไมค์ วัตต์ เพื่อมาเป็นส่วนหนึ่งกับอัลบั้มของเขา Ball-Hog or Tugboat? หลังจากแสดงคอนเสริ์ตเสร็จแล้ว , เดฟ โกรล มีความคิดที่จะตั้งโครงการดนตรีของเขาขึ้นมาเอง[5] เป็นการระบายความเศร้าหม่นหมอง จากการเสียชีวิตของโคเบน โกรลเปรียบอัลบั้มนี้ว่า "ยาบำบัด" ซึ่งเขาอัดเพลงและแต่งเนื้อเพลงโดยตัวของเขาเอง[4] หลังจากนั้น เดฟ โกรล ได้จองสคูดิโอ Robert Lang Studio ไว้ประมาณหกวัน ซึ่งสตูดิโอดังกล่าวอยู่ใกล้บ้านของเขา , เมื่อเขาได้อัดเพลง "เพลงโปรดของผม ผมเขียนมามันขึ้นเมื่อ 4-5 ปีซึ่งไม่มีใครฟัง" [1] ซึ่งได้รับความช่วยเหลือจากฝ่ายโปรดิวเซอร์ บาเร็ต โจนส์ , เมื่อครั้นที่เขายังส่งเทปเดโม่ไปให้ , "Pocketwatch" ปี 1992 [6] ทำให้เดฟ โกรลมีความคิดในการเล่นดนตรีอีกครั้ง และวางจำหน่ายมันให้ภายใต้ชื่อดังกล่าว แต่ก็ยังมีคนบางกลุ่มบอกว่าวงมีลักษณะคล้ายคลึงกับอัลบั้ม Klark Kent ของสจ๊วต ค็อปแลนด์[2]
การบันทึก
[แก้]—Dave Grohl กล่าวในปีค.ศ. 2011[7]
Dave Grohl และ Barret Jones อัดเพลงในระยะเวลาหนึ่งสัปดาห์เต็มในเดือนตุลาคม ปีค.ศ. 1994 , โดย Dave Grohl เล่นเครื่องดนตรีเองทั้งหมด (ไม่ว่าจะเป็นการร้อง กีตาร์ เบส และกลอง) รุ่งเช้าพวกเขาทั้งสองมายังสตูดิโอ Robert Lang Studios , พวกเขาเริ่มอัดเพลงจนกระทั่งบ่ายโมงและอัดไปสี่เพลง[4] ขณะที่เขาอัดเขาต้องเล่นเป็นมือกองและสลับมาเป็นกีตาร์ และไปอัดเพลง , สักพักก็ไปนั่งพักโดยการจิบกาแฟแล้วกลับไปทำเพลงต่อ
โดยการแสดงคอนเสริ์ตได้รับความช่วยเหลือจาก Greg Dull จากวง The Afghan Whigs ในการจัดหาและบริการกีตาร์ X-Static โดยการแสดงคอนเสริ์ตได้รับความช่วยเหลือจาก Greg Dull จากวง The Afghan Whigs ในการเล่นกีตาร์ให้ ซึ่งเป็นคนที่ติดตามการอัดเพลงของ Dave Grohl , ในท้ายที่สุด Dave Grohl ก็ได้ให้เป็นมือกีตาร์ (ซึ่ง Greg Dull ได้เป็นมือกีตาร์ให้ฟูไฟเดอร์สเพียงเพลงเดียว ในเพลง X-Static)[8] โดยแต่ละเพลงนั้นใช้ความยาวประมาณ 45 นาทีจึงจะเสร็จสมบูรณ์ การแต่งเพลงได้ถูกบันทึกไว้ในลำดับเดียวกันถูกกลายมาเป็นลำดับแทร็กและเป็นเพียงเพลงเดียวที่ถูกรั่วไหลก่อนจะเสร็จสมบูรณ์ "I'll Stick Around"[6] Dave Grohl รู้สึกไมปลอดภัยกับการร้องของเขา , และเพิ่มเอฟเฟ็คเสียงลงในเสียงของเขาในเพลง Floatyและเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานผ่านแทร็คที่สอง [4]
ในความพยายามที่จะตั้งตัวตนของเขา , Dave Grohl วางแผนปล่อยเพลงภายใต้ชื่อ ฟู ไฟสเตอร์.[5] มันค่อนข้างจะได้ผลรับที่ค่อนข้างแย่สำหรับ 100 ตลับ LP Record ซึ่งถูกกดดันหลังจากการประชุมเสร็จสิ้น [6] Dave Grohl ต้องการที่จะสร้างแล็บเทปคาสเซ็ตที่ซีแอตเทิล ที่จะสร้าง 100 ตลับเทปคาสเซ็ต ได้ทำสำเนาต้นฉบับสำหรับการประชุม และเริ่มส่งให้ถึงมือของเพื่อนเพื่อดูความคิดเห็นและ ผมจะให้แจกเทปให้ทุกคน เด็ก ๆ มาหาผมและพูดว่า เนอร์วานาเป็นวงโปรดของฉันเลยและผมก็ว่า ฮ่าเยี่ยมไปเลย , แต่รับเทปไปซะไอ้หนู [9] Eddie Vedder ได้ทำการเปิดเพลง 2 เพลง จากที่อัดเมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 1995 เป็นที่แรกผ่านทางวิทยุกระจายเสียง Self-Pollution Radio[5] การบันทึกเป็นไปอย่างแพร่กระจ่าย ในเหล่าวงการเพลง , ซึ่งสร้างความน่าสนใจให้กับเรเคิดส์ ลาเบล (Record Label) ในท้ายที่สุดก็เซ็๋นสัญญากับค่าย แคปิตอลเรเคิดส์ โดยประธานบริษัทแคปิตอลเรเคิดส์ซี่งเป็นเพื่อนสนิทของ Dave Grohl ตั้งแต่เมื่อเขาอยู่กับวงเนอร์วานากับค่าย Geffen Records[3][10]
ชาร์ต
[แก้]
ชาร์ตประจำสัปดาห์[แก้]
|
ชาร์ตสิ้นปี[แก้]
|
การรับรอง
[แก้]ประเทศ | การรับรอง | จำนวนหน่วยที่รับรอง/ยอดขาย |
---|---|---|
Australia (ARIA)[34] | Gold | 35,000^ |
Canada (Music Canada)[35] | Platinum | 100,000^ |
New Zealand (RMNZ)[36] | Gold | 7,500^ |
United Kingdom (BPI)[38] | Platinum | 374,187[37] |
United States (RIAA)[39] | Platinum | 1,000,000^ |
^ตัวเลขการจัดส่งขึ้นอยู่กับการรับรองเพียงอย่างเดียว |
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 Moll, James (director) (2011). Back and Forth (documentary). RCA.
- ↑ 2.0 2.1 "Everyone Has Their Dark Side", Mojo (April 2005)
- ↑ 3.0 3.1 Murphy, Kevin (July 2005). "Honor Roll". Classic Rock. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ November 10, 2012. สืบค้นเมื่อ May 21, 2012.
- ↑ 4.0 4.1 4.2 4.3 My Brilliant Career เก็บถาวร กันยายน 19, 2011 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, Q (November 2007)
- ↑ 5.0 5.1 5.2 From Penniless Drummer To The Bigest (sic) Rock Icon In the World, Kerrang! (November 2009)
- ↑ 6.0 6.1 6.2 Apter, Jeff (2006). The Dave Grohl Story. Music Sales Group. pp. 256–260. ISBN 978-0-85712-021-2.
- ↑ "I have all these huge fucking riffs, I can scream for three hours... LET'S GO!", Classic Rock, May 2011
- ↑ Mundy, Chris (October 1995). "Invasion Of The Foo Fighters – Dave Grohl Takes Command". Rolling Stone. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ September 19, 2011. สืบค้นเมื่อ May 21, 2012.
- ↑ Heatley, Michael. Dave Grohl: Nothing to Lose. 2006
- ↑ Rosen, Craig (June 24, 1995). "Time Off Re-energizes the Foo Fighters". Billboard.
- ↑ "Australiancharts.com – Foo Fighters – Foo Fighters". Hung Medien. สืบค้นเมื่อ June 26, 2016.
- ↑ "ARIA Alternative Charts Top 20". ARIA Report. No. 286. August 6, 1995. p. 12. สืบค้นเมื่อ November 27, 2021.
- ↑ "Austriancharts.at – Foo Fighters – Foo Fighters" (ภาษาเยอรมัน). Hung Medien. สืบค้นเมื่อ June 26, 2016.
- ↑ "Ultratop.be – Foo Fighters – Foo Fighters" (ภาษาดัตช์). Hung Medien. สืบค้นเมื่อ June 26, 2016.
- ↑ "Ultratop.be – Foo Fighters – Foo Fighters" (ภาษาฝรั่งเศส). Hung Medien. สืบค้นเมื่อ June 26, 2016.
- ↑ "Top RPM Albums: Issue 2735". RPM. Library and Archives Canada. สืบค้นเมื่อ October 20, 2019.
- ↑ "Dutchcharts.nl – Foo Fighters – Foo Fighters" (ภาษาดัตช์). Hung Medien. สืบค้นเมื่อ June 26, 2016.
- ↑ "European Top 100 Albums" (PDF). Music & Media. July 22, 1995. p. 13. สืบค้นเมื่อ August 1, 2018.
- ↑ "Foo Fighters: Foo Fighters" (ภาษาฟินแลนด์). Musiikkituottajat – IFPI Finland. สืบค้นเมื่อ June 26, 2016.
- ↑ "Offiziellecharts.de – Foo Fighters – Foo Fighters" (ภาษาเยอรมัน). GfK Entertainment Charts. สืบค้นเมื่อ December 30, 2020.
- ↑ "Charts.nz – Foo Fighters – Foo Fighters". Hung Medien. สืบค้นเมื่อ June 26, 2016.
- ↑ "Official Scottish Albums Chart Top 100". Official Charts Company. สืบค้นเมื่อ November 18, 2021.
- ↑ "Swedishcharts.com – Foo Fighters – Foo Fighters". Hung Medien. สืบค้นเมื่อ June 26, 2016.
- ↑ "Swisscharts.com – Foo Fighters – Foo Fighters". Hung Medien. สืบค้นเมื่อ June 26, 2016.
- ↑ "Official Albums Chart Top 100". Official Charts Company. สืบค้นเมื่อ November 18, 2021.
- ↑ "Official Rock & Metal Albums Chart Top 40". Official Charts Company. สืบค้นเมื่อ June 21, 2020.
- ↑ "Foo Fighters Chart History (Billboard 200)". Billboard. สืบค้นเมื่อ June 26, 2016.
- ↑ "Top Albums/CDs – Volume 62, No. 20, December 18 1995". RPM. 18 December 1995. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ June 6, 2020. สืบค้นเมื่อ February 9, 2021.
- ↑ "Year End Sales Charts - European Top 100 Albums 1995" (PDF). Music & Media. December 23, 1995. p. 14. สืบค้นเมื่อ July 29, 2018.
- ↑ "Top Selling Albums of 1995". The Official NZ Music Charts. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ January 8, 2021. สืบค้นเมื่อ February 25, 2021.
- ↑ "End of Year Album Chart Top 100 – 1995". Official Charts Company. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ January 16, 2021. สืบค้นเมื่อ February 15, 2021.
- ↑ "Top Billboard 200 Albums – Year-End 1995". Billboard. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ July 16, 2019. สืบค้นเมื่อ February 15, 2021.
- ↑ "Top Billboard 200 Albums – Year-End 1996". Billboard. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ April 27, 2018. สืบค้นเมื่อ February 15, 2021.
- ↑ "ARIA Charts – Accreditations – 1996 Albums" (PDF). Australian Recording Industry Association. สืบค้นเมื่อ July 13, 2021.
- ↑ "Canadian album certifications – Foo Fighters – Foo Fighters". Music Canada.
- ↑ "New Zealand album certifications – FoocFighters – The Colour and the Shape". Recorded Music NZ. สืบค้นเมื่อ December 30, 2020.
- ↑ Garner, George (September 22, 2017). "The Big Interview: Foo Fighters". Music Week. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ January 10, 2021. สืบค้นเมื่อ December 30, 2020.
- ↑ "British album certifications – Foo Fighters – Foo Fighters". British Phonographic Industry.
- ↑ "American album certifications – Foo Fighters – Foo Fighters". Recording Industry Association of America.