ข้ามไปเนื้อหา

ฟุตบอลโลก 2026 รอบคัดเลือก โซนเอเชีย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฟุตบอลโลก 2026 รอบคัดเลือก โซนเอเชีย
รายละเอียดการแข่งขัน
วันที่12 ตุลาคม ค.ศ. 2023 – 18 พฤศจิกายน ค.ศ. 2025
ทีม46 (จาก 1 สมาพันธ์)
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน181
จำนวนประตู524 (2.9 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม3,730,310 (20,609 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดประเทศกาตาร์ อัลมุอิซ อะลี
(12 ประตู)
2022
2030
ปรับปรุงสถิติทั้งหมด ณ วันที่ 19 พฤศจิกายน ค.ศ. 2024

การแข่งขันฟุตบอลโลก 2026 รอบคัดเลือก โซนเอเชีย (อังกฤษ: 2026 FIFA World Cup qualification (AFC)) เป็นการแข่งขันฟุตบอลในโซนเอเชียซึ่งจะทำหน้าที่เป็นรอบคัดเลือกสำหรับฟุตบอลโลก 2026 ที่จะจัดขึ้นในประเทศแคนาดา สหรัฐ และเม็กซิโก สำหรับทีมชาติที่เป็นสมาชิกของสมาพันธ์ฟุตบอลแห่งเอเชีย (AFC) โควต้าทั้งหมด 8 1/3 ตำแหน่ง (โควต้าตรง 8 ตำแหน่ง และโควต้ารอบเพลย์ออฟระหว่างสมาพันธ์ 1 ตำแหน่ง) ในการแข่งขันรอบสุดท้ายที่มีให้สำหรับทีมของเอเอฟซี[1]

กระบวนการคัดเลือกประกอบด้วย 5 รอบ สองรอบแรกเป็นการแข่งขันรอบคัดเลือกสำหรับเอเชียนคัพ 2027

รูปแบบ

[แก้]
  • รอบที่ 1 (22 ทีม) : ทีมชาติที่มีอันดับต่ำที่สุด 22 ทีมจะถูกจับฉลากเป็น 11 แมตช์ และจะเล่นแบบเหย้าและเยือนในสองเลก "เพลย์ออฟ" ผู้ชนะผ่านเข้าสู่รอบ 2 ขณะที่ผู้แพ้จะได้สิทธิ์เข้ารอบ "เพลย์ออฟ" ของเอเชียนคัพ AFC 2027.
  • รอบที่ 2 (36 ทีม)  : 11 ทีมที่เป็นผู้ชนะจากรอบที่ 1 จะเข้าร่วมกับทีมอื่น ๆ อีก 25 ทีม พวกเขาจะแบ่งออกเป็น 9 กลุ่ม (A ถึง I) ด้วยระบบกลุ่มละ 4 ทีม ในแต่ละกลุ่ม จะแข่งกันกับอีก 3 ทีมทั้งในบ้านและนอกบ้าน รวมเป็น 6 นัด ผู้ชนะเลิศและรองชนะเลิศจากแต่ละกลุ่มจะผ่านเข้ารอบ 3 ของฟุตบอลโลกรอบคัดเลือก (และได้เข้าร่วมการแข่งขันเอเชียนคัพ 2027) ในขณะที่ทีมอันดับ 3 และ 4 จะได้ผ่านเข้ารอบ 3 ของการแข่งขัน เอเชียนคัพ 2027
  • รอบสาม : 18 ทีมจากที่ผ่านเข้ามาจากรอบสอง จะแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ๆ ละ 6 ทีม  ทีมแชมป์กลุ่มอันดับ 1และ2  จำนวน 6 ทีม ได้สิทธิ์ไปเล่นฟุตบอลโลก 2026  ทันที ส่วนทีมอันดับ 3,4 ของทุกกลุ่มต้องไปเล่นรอบสี่เพื่อแย่งตั๋วที่เหลือ
  • รอบสี่ : 6 ทีม จากรอบสาม จะแบ่งการแข่งขันออกเป็น 2 กลุ่มๆละ 3 ทีม ทีมแชมป์ของ 2 กลุ่มนี้ จะได้สิทธิ์ไปเล่นฟุตบอลโลก 2026 ในฐานะทีมที่7,8 ที่ได้โควต้าของโซนเอเชีย 8.5ทีม ส่วนรองแชมป์กลุ่ม 2 ทีมในรอบนี้ ต้องไปเล่นในรอบห้า
  • รอบห้า : รองแชมป์กลุ่ม 2 กลุ่มจากรอบสี่ ต้องลงเล่นเพื่อหาเอาหนึ่งทีมไปเพลย์ออฟกับทีมจากทวีปอื่นๆ

การจับฉลาก

[แก้]
อันดับโลกของฟีฟ่าตั้งแต่เดือนกรกฎาคม ค.ศ. 2023 [2]
ผ่านเข้าสู้รอบที่ 2 แข่งขันในรอบที่ 1
โถ 1 โถ 2 โถ 3 โถ 1 โถ 2

รอบแรก

[แก้]
ฟุตบอลโลก 2026 และ เอเชียนคัพ 2027 รอบคัดเลือก รอบแรก
ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง นัดแรก นัดที่สอง
อัฟกานิสถาน  2–0  มองโกเลีย 1–0 1–0
มัลดีฟส์  2–3  บังกลาเทศ 1–1 1–2
สิงคโปร์  3–1  กวม 2–1 1–0
เยเมน  4–1  ศรีลังกา 3–0 1–1
พม่า  5–1  มาเก๊า 5–1 0–0
กัมพูชา  0–1  ปากีสถาน 0–0 0–1
จีนไทเป  7–0  ติมอร์-เลสเต 4–0 3–0
อินโดนีเซีย  12–0  บรูไน 6–0 6–0
ฮ่องกง  4–2  ภูฏาน 4–0 0–2
เนปาล  2–1  ลาว 1–1 1–0


รอบที่ 2

[แก้]

กลุ่ม เอ

[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ ประเทศกาตาร์ ประเทศคูเวต ประเทศอินเดีย ประเทศอัฟกานิสถาน
1  กาตาร์ 6 5 1 0 18 3 +15 16 ฟุตบอลโลก รอบคัดเลือก รอบที่ 3 และ เอเชียนคัพ 3–0 2–1 8–1
2  คูเวต 6 2 1 3 6 6 0 7 1–2 0–1 1–0
3  อินเดีย 6 1 2 3 3 7 −4 5 เอเชียนคัพ รอบคัดเลือก รอบสาม 0–3 0–0 1–2
4  อัฟกานิสถาน 6 1 2 3 3 14 −11 5 0–0 0–4 0–0
แหล่งข้อมูล: FIFA AFC
กฏการจัดอันดับ: Tiebreakers

กลุ่ม บี

[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ ประเทศญี่ปุ่น ประเทศเกาหลีเหนือ ประเทศซีเรีย ประเทศพม่า
1  ญี่ปุ่น 6 6 0 0 24 0 +24 18 ฟุตบอลโลก รอบคัดเลือก รอบที่ 3 และ เอเชียนคัพ 1–0 5–0 5–0
2  เกาหลีเหนือ 6 3 0 3 11 7 +4 9 0–3[a] 1–0 4–1
3  ซีเรีย 6 2 1 3 9 12 −3 7 เอเชียนคัพ รอบคัดเลือก รอบสาม 0–5 1–0 7–0
4  พม่า 6 0 1 5 3 28 −25 1 0–5 1–6 1–1
แหล่งข้อมูล: ฟีฟ่า เอเอฟซี
หมายเหตุ:
  1. ญี่ปุ่นได้รับชัยชนะ 3–0 โดยการแพ้, หลังจากที่เกาหลีเหนือปฏิเสธที่จะเป็นเจ้าภาพการแข่งขันโดยอ้างถึงความกังวลเกี่ยวกับโรคที่แพร่กระจายในญี่ปุ่น.

กลุ่ม ซี

[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ ประเทศเกาหลีใต้ ประเทศจีน ประเทศไทย ประเทศสิงคโปร์
1  เกาหลีใต้ 6 5 1 0 20 1 +19 16 ฟุตบอลโลก รอบคัดเลือก รอบที่ 3 และ เอเชียนคัพ 1–0 1–1 5–0
2  จีน 6 2 2 2 9 9 0 8[a] 0–3 1–1 4–1
3  ไทย 6 2 2 2 9 9 0 8[a] เอเชียนคัพ รอบคัดเลือก รอบสาม 0–3 1–2 3–1
4  สิงคโปร์ 6 0 1 5 5 24 −19 1 0–7 2–2 1–3
แหล่งข้อมูล: ฟีฟ่า เอเอฟซี
หมายเหตุ:
  1. 1.0 1.1 คะแนน เฮด-ทู-เฮด: จีน 4, ไทย 1.

กลุ่ม ดี

[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ ประเทศโอมาน ประเทศคีร์กีซสถาน ประเทศมาเลเซีย จีนไทเป
1  โอมาน 6 4 1 1 11 2 +9 13 ฟุตบอลโลก รอบคัดเลือก รอบที่ 3 และ เอเชียนคัพ 1–1 2–0 3–0
2  คีร์กีซสถาน 6 3 2 1 13 7 +6 11 1–0 1–1 5–1
3  มาเลเซีย 6 3 1 2 9 9 0 10 เอเชียนคัพ รอบคัดเลือก รอบสาม 0–2 4–3 3–1
4  จีนไทเป 6 0 0 6 2 17 −15 0 0–3 0–2 0–1
แหล่งข้อมูล: ฟีฟ่า เอเอฟซี

กลุ่ม อี

[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ ประเทศอิหร่าน ประเทศอุซเบกิสถาน ประเทศเติร์กเมนิสถาน ฮ่องกง
1  อิหร่าน 6 4 2 0 16 4 +12 14 ฟุตบอลโลก รอบคัดเลือก รอบที่ 3 และ เอเชียนคัพ 0–0 5–0 4–0
2  อุซเบกิสถาน 6 4 2 0 13 4 +9 14 2–2 3–1 3–0
3  เติร์กเมนิสถาน 6 0 2 4 4 14 −10 2 เอเชียนคัพ รอบคัดเลือก รอบสาม 0–1 1–3 0–0
4  ฮ่องกง 6 0 2 4 4 15 −11 2 2–4 0–2 2–2
แหล่งข้อมูล: ฟีฟ่า เอเอฟซี

กลุ่ม เอฟ

[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ ประเทศอิรัก ประเทศอินโดนีเซีย ประเทศเวียดนาม ประเทศฟิลิปปินส์
1  อิรัก 6 6 0 0 17 2 +15 18 ฟุตบอลโลก รอบคัดเลือก รอบที่ 3 และ เอเชียนคัพ 5–1 3–1 1–0
2  อินโดนีเซีย 6 3 1 2 8 8 0 10 0–2 1–0 2–0
3  เวียดนาม 6 2 0 4 6 10 −4 6 เอเชียนคัพ รอบคัดเลือก รอบสาม 0–1 0–3 3–2
4  ฟิลิปปินส์ 6 0 1 5 3 14 −11 1 0–5 1–1 0–2
แหล่งข้อมูล: ฟีฟ่า เอเอฟซี

กลุ่ม จี

[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ ประเทศจอร์แดน ประเทศซาอุดีอาระเบีย ประเทศทาจิกิสถาน ประเทศปากีสถาน
1  จอร์แดน 6 4 1 1 16 4 +12 13 ฟุตบอลโลก รอบคัดเลือก รอบที่ 3 และ เอเชียนคัพ 0–2 3–0 7–0
2  ซาอุดีอาระเบีย[a] 6 4 1 1 12 3 +9 13 1–2 1–0 4–0
3  ทาจิกิสถาน 6 2 2 2 11 7 +4 8 เอเชียนคัพ รอบคัดเลือก รอบสาม 1–1 1–1 3–0
4  ปากีสถาน 6 0 0 6 1 26 −25 0 0–3 0–3 1–6
แหล่งข้อมูล: ฟีฟ่า เอเอฟซี
หมายเหตุ:
  1. ซาอุดิอาระเบียผ่านเข้ารอบเอเชียนคัพในฐานะประเทศเจ้าภาพแล้วและได้เข้าสู่คัดเลือกสำหรับฟุตบอลโลก.

กลุ่ม เอช

[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ประเทศบาห์เรน ประเทศเยเมน ประเทศเนปาล
1  สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 6 5 1 0 16 2 +14 16 ฟุตบอลโลก รอบคัดเลือก รอบที่ 3 และ เอเชียนคัพ 1–1 2–1 4–0
2  บาห์เรน 6 3 2 1 11 3 +8 11 0–2 0–0 3–0
3  เยเมน 6 1 2 3 5 9 −4 5 เอเชียนคัพ รอบคัดเลือก รอบสาม 0–3 0–2 2–2
4  เนปาล 6 0 1 5 2 20 −18 1 0–4 0–5 0–2
แหล่งข้อมูล: ฟีฟ่า เอเอฟซี
กฏการจัดอันดับ: เงื่อนไข

กลุ่ม ไอ

[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ ประเทศออสเตรเลีย รัฐปาเลสไตน์ ประเทศเลบานอน ประเทศบังกลาเทศ
1  ออสเตรเลีย 6 6 0 0 22 0 +22 18 ฟุตบอลโลก รอบคัดเลือก รอบที่ 3 และ เอเชียนคัพ 5–0 2–0 7–0
2  ปาเลสไตน์ 6 2 2 2 6 6 0 8 0–1 0–0 5–0
3  เลบานอน 6 1 3 2 5 8 −3 6 เอเชียนคัพ รอบคัดเลือก รอบสาม 0–5 0–0 4–0
4  บังกลาเทศ 6 0 1 5 1 20 −19 1 0–2 0–1 1–1
แหล่งข้อมูล: ฟีฟ่า เอเอฟซี
กฏการจัดอันดับ: เงื่อนไข

รอบที่ 3

[แก้]

กลุ่ม เอ

[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ ประเทศอิหร่าน ประเทศอุซเบกิสถาน สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ประเทศกาตาร์ ประเทศคีร์กีซสถาน ประเทศเกาหลีเหนือ
1  อิหร่าน (X) 7 6 1 0 14 5 +9 19 ฟุตบอลโลก 2026 25 มี.ค. 2–0 4–1 1–0 10 มิ.ย.
2  อุซเบกิสถาน (X) 7 5 1 1 9 5 +4 16 0–0 1–0 10 มิ.ย. 1–0 1–0
3  สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 7 3 1 3 12 6 +6 10 รอบที่ 4 0–1 5 มิ.ย. 5–0 3–0 1–1
4  กาตาร์ 7 3 1 3 15 18 −3 10 5 มิ.ย. 3–2 1–3 3–1 5–1
5  คีร์กีซสถาน (Z) 7 1 0 6 6 14 −8 3 2–3 2–3 10 มิ.ย. 25 มี.ค. 1–0
6  เกาหลีเหนือ (Z) 7 0 2 5 6 14 −8 2 2–3 0–1 25 มี.ค. 2–2 5 มิ.ย.
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุดในนัดการแข่งขันที่ลงเล่นในวันที่ 20 มีนาคม ค.ศ. 2025. แหล่งข้อมูล: เอเอฟซี
กฏการจัดอันดับ: เงื่อนไข
(X) มั่นใจได้เป็นอย่างน้อยในการผ่านเข้าสู่รอบที่สี่; สามารถที่จะผ่านเข้ารอบได้โดยตรง; (Z) ไม่สามารถผ่านเข้ารอบได้โดยตรง; แต่สามารถผ่านเข้าสู่รอบที่สี่

กลุ่ม บี

[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ ประเทศเกาหลีใต้ ประเทศจอร์แดน ประเทศอิรัก ประเทศโอมาน ประเทศคูเวต รัฐปาเลสไตน์
1  เกาหลีใต้ (X) 7 4 3 0 13 6 +7 15 ฟุตบอลโลก 2026 25 มี.ค. 3–2 1–1 10 มิ.ย. 0–0
2  จอร์แดน 7 3 3 1 12 6 +6 12 0–2 10 มิ.ย. 4–0 1–1 3–1
3  อิรัก 7 3 3 1 7 5 +2 12 รอบที่ 4 5 มิ.ย. 0–0 1–0 2–2 1–0
4  โอมาน 7 2 1 4 7 10 −3 7 1–3 5 มิ.ย. 0–1 4–0 1–0
5  คูเวต 7 0 5 2 7 13 −6 5 1–3 1–1 0–0 25 มี.ค. 5 มิ.ย.
6  ปาเลสไตน์ (Z) 7 0 3 4 5 11 −6 3 1–1 1–3 25 มี.ค. 10 มิ.ย. 2–2
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุดในนัดการแข่งขันที่ลงเล่นในวันที่ 20 มีนาคม ค.ศ. 2025. แหล่งข้อมูล: เอเอฟซี
กฏการจัดอันดับ: เงื่อนไข
(X) มั่นใจได้เป็นอย่างน้อยในการผ่านเข้าสู่รอบที่สี่; สามารถที่จะผ่านเข้ารอบโดยตรง; (Z) ไม่สามารถผ่านเข้ารอบได้โดยตรง; แต่อาจจะสามารถผ่านเข้าสู่รอบที่สี่

กลุ่ม ซี

[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ ประเทศญี่ปุ่น ประเทศออสเตรเลีย ประเทศซาอุดีอาระเบีย ประเทศอินโดนีเซีย ประเทศบาห์เรน ประเทศจีน
1  ญี่ปุ่น (Q) 7 6 1 0 24 2 +22 19 ฟุตบอลโลก 2026 1–1 25 มี.ค. 10 มิ.ย. 2–0 7–0
2  ออสเตรเลีย 7 2 4 1 11 6 +5 10 5 มิ.ย. 0–0 5–1 0–1 3–1
3  ซาอุดีอาระเบีย 7 2 3 2 4 6 −2 9 รอบที่ 4 0–2 10 มิ.ย. 1–1 0–0 1–0
4  อินโดนีเซีย 7 1 3 3 7 14 −7 6 0–4 0–0 2–0 25 มี.ค. 5 มิ.ย.
5  บาห์เรน 7 1 3 3 5 12 −7 6 0–5 2–2 5 มิ.ย. 2–2 0–1
6  จีน 7 2 0 5 6 17 −11 6 1–3 25 มี.ค. 1–2 2–1 10 มิ.ย.
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุดในนัดการแข่งขันที่ลงเล่นในวันที่ 20 มีนาคม ค.ศ. 2025. แหล่งข้อมูล: เอเอฟซี
กฏการจัดอันดับ: เงื่อนไข
(Q) ผ่านเข้าสู่รอบที่ระบุ

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Unanimous decision expands FIFA World Cup to 48 teams from 2026". FIFA. 10 January 2017. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 January 2017.
  2. "FIFA Men's Ranking – July 2023". FIFA. 20 July 2023.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]