เอเชียนคัพ รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2022

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 23 ปี 2022
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพอุซเบกิสถาน
วันที่1–19 มิถุนายน พ.ศ. 2565
ทีม16 (จาก 1 สมาพันธ์)
สถานที่(ใน 3 เมืองเจ้าภาพ)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศ ซาอุดีอาระเบีย (สมัยที่ 1)
รองชนะเลิศ อุซเบกิสถาน
อันดับที่ 3 ญี่ปุ่น
อันดับที่ 4 ออสเตรเลีย
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน32
จำนวนประตู81 (2.53 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม154,134 (4,817 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดญี่ปุ่น Yuito Suzuki
ซาอุดีอาระเบีย Ayman Yahya
เกาหลีใต้ Cho Young-wook
ไทย ศุภณัฏฐ์ เหมือนตา
อุซเบกิสถาน Jasurbek Jaloliddinov (คนละ 3 ประตู)
2020
2024

ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 23 ปี หรือ เอเอฟซี ยู-23 เอเชียนคัพ ปี 2022 (อังกฤษ: 2022 AFC U-23 Asian Cup) เป็นการแข่งขันฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 23 ปี ครั้งที่ 5 จัดขึ้นโดยสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (เอเอฟซี) ซึ่งการแข่งขันนี้เป็นการแข่งขันฟุตบอลแบบจำกัดอายุระดับนานาชาติสำหรับทีมชาติชุดเยาวชนอายุไม่เกิน 23 ปีในทวีปเอเชีย

ทัวร์นาเมนต์นี้ตามกำหนดเดิมจะต้องจัดที่ประเทศอุซเบกิสถาน ระหว่างวันที่ 6–24 มกราคม พ.ศ. 2565 แต่ถูกเลื่อนออกไปเนื่องจากการระบาดทั่วของโควิด-19 และกำหนดโปรแกรมขึ้นมาใหม่เป็นวันที่ 1–19 มิถุนายน พ.ศ. 2565[1][2] ทั้งหมด 16 ทีมจะเข้าร่วมในการแข่งขัน[3] โดยมีเกาหลีใต้เป็นแชมป์เก่า

รอบคัดเลือก[แก้]

แต่ละนัดในรอบคัดเลือกจะลงเล่นระหว่างวันที่ 23–31 ตุลาคม พ.ศ. 2564[4]

ทีมที่ผ่านเข้ารอบ[แก้]

ทีม เข้ารอบในฐานะ จำนวนครั้งที่เข้าร่วม ผลงานที่ดีที่สุดที่เคยเข้าร่วมแข่งขัน
 อุซเบกิสถาน เจ้าภาพ ครั้งที่ 5 ชนะเลิศ (2018)
 กาตาร์ กลุ่มเอ ทีมชนะเลิศ ครั้งที่ 4 อันดับที่ 3 (2018)
 อิหร่าน กลุ่มบี ทีมชนะเลิศ ครั้งที่ 4 รอบก่อนรองชนะเลิศ (2016)
 อิรัก กลุ่มซี ทีมชนะเลิศ ครั้งที่ 5 ชนะเลิศ (2013)
 คูเวต กลุ่มดี ทีมชนะเลิศ ครั้งที่ 2 รอบแบ่งกลุ่ม (2013)
 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ กลุ่มอี ทีมชนะเลิศ ครั้งที่ 4 รอบก่อนรองชนะเลิศ (2016, 2020)
 จอร์แดน กลุ่มเอฟ ทีมชนะเลิศ ครั้งที่ 5 อันดับที่ 3 (2013)
 ออสเตรเลีย กลุ่มจี ทีมชนะเลิศ ครั้งที่ 5 อันดับที่ 3 (2020)
 เกาหลีใต้ กลุ่มเอช ทีมชนะเลิศ ครั้งที่ 5 ชนะเลิศ (2020)
 เวียดนาม กลุ่มไอ ทีมชนะเลิศ ครั้งที่ 4 รองชนะเลิศ (2018)
 มาเลเซีย กลุ่มเจ ทีมชนะเลิศ ครั้งที่ 2 รอบก่อนรองชนะเลิศ (2018)
 ญี่ปุ่น กลุ่มเค ทีมชนะเลิศ ครั้งที่ 5 ชนะเลิศ (2016)
 ไทย อันดับที่ 1 รองชนะเลิศที่ดีที่สุด ครั้งที่ 4

รอบก่อนรองชนะเลิศ (2020)

 ซาอุดีอาระเบีย อันดับที่ 2 รองชนะเลิศที่ดีที่สุด ครั้งที่ 5 รองชนะเลิศ (2013, 2020)
 เติร์กเมนิสถาน อันดับที่ 3 รองชนะเลิศที่ดีที่สุด ครั้งที่ 1 ครั้งแรก
 ทาจิกิสถาน อันดับที่ 4 รองชนะเลิศที่ดีที่สุด ครั้งที่ 1 ครั้งแรก

สนามแข่งขัน[แก้]

ทาชเคนต์
สนามกีฬามิลลีย์ สนามกีฬาปักห์ตากอร์
ความจุ: 34,000 ความจุ: 35,000
ทาชเคนต์ ควาร์ชี
สนามกีฬาโลโคโมติฟ สนามกีฬามาร์กาซีย์
ความจุ: 8,000 ความจุ: 21,000

การจับสลาก[แก้]

16 ทีมจะถูกจับสลากอยู่ในสี่กลุ่มที่มีจำนวนสี่ทีม, กับการจัดทีมวางขึ้นอยู่กับผลงานของพวกเขาในฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 23 ปี 2020 การจับสลากได้จัดขึ้นในสนามกีฬาบุนยอดกอร์ ณ เวลา 12:00 น. ของวันที่ 17 กุมภาพันธ์ (ตามเวลาท้องถิ่นของอุซเบกิสถาน: UTC+5)[5]

โถ 1 โถ 2 โถ 3 โถ 4

ผู้เล่น[แก้]

รอบแบ่งกลุ่ม[แก้]

สองทีมที่ดีที่สุดของแต่ละกลุ่มจะได้ผ่านเข้าสู่รอบก่อนรองชนะเลิศ

เวลาทั้งหมดคือเวลาท้องถิ่น, UT (UTC+5).

กลุ่ม เอ[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  อุซเบกิสถาน (H) 3 2 1 0 8 1 +7 7 รอบแพ้คัดออก
2  เติร์กเมนิสถาน 3 1 1 1 4 4 0 4
3  อิหร่าน 3 0 2 1 3 4 −1 2
4  กาตาร์ 3 0 2 1 3 9 −6 2
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม
(H) เจ้าภาพ.
อิหร่าน 1–1 กาตาร์
รายงานสด
รายงานสถิติ
ผู้ชม: 109 คน
ผู้ตัดสิน: Yusuke Araki (ญี่ปุ่น)


กลุ่ม บี[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  ออสเตรเลีย 3 2 1 0 4 1 +3 7 รอบแพ้คัดออก
2  จอร์แดน 3 1 1 1 2 2 0 4
3  อิรัก 3 1 2 0 5 3 +2 5
4  คูเวต 3 0 0 3 1 6 −5 0
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม
จอร์แดน 1–1 อิรัก
รายงานสด
รายงานสถิติ

อิรัก 1–1 ออสเตรเลีย
รายงานสด
รายงานสถิติ
ผู้ชม: 492 คน
ผู้ตัดสิน: Akhrol Riskullaev (อุซเบกิสถาน)
คูเวต 0–1 จอร์แดน
รายงานสด
รายงานสถิติ

กลุ่ม ซี[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  เกาหลีใต้ 3 2 1 0 6 2 +4 7 รอบแพ้คัดออก
2  เวียดนาม 3 1 2 0 5 3 +2 5
3  ไทย 3 1 1 1 5 3 +2 4
4  มาเลเซีย 3 0 0 3 1 9 −8 0
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม
เกาหลีใต้ 4–1 มาเลเซีย
รายงานสด
รายงานสถิติ
ผู้ชม: 290 คน
ผู้ตัดสิน: Saoud Al-Athbah (กาตาร์)

มาเลเซีย 0–3 ไทย
รายงานสด
รายงานสถิติ
ผู้ชม: 212 คน
ผู้ตัดสิน: Mohammed Al-Hoish (ซาอุดีอาระเบีย)

เกาหลีใต้ 1–0 ไทย
รายงานสด
รายงานสถิติ
ผู้ชม: 350 คน
ผู้ตัดสิน: Salman Ahmad Falahi (กาตาร์)

กลุ่ม ดี[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  ซาอุดีอาระเบีย 3 2 1 0 7 0 +7 7 รอบแพ้คัดออก
2  ญี่ปุ่น 3 2 1 0 5 1 +4 7
3  สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 3 1 0 2 3 4 −1 3
4  ทาจิกิสถาน 3 0 0 3 0 10 −10 0
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม


ญี่ปุ่น 3–0 ทาจิกิสถาน
รายงานสถิติ
ผู้ชม: 375 คน
ผู้ตัดสิน: Ali Shaban (คูเวต)

รอบแพ้คัดออก[แก้]

สายการแข่งขัน[แก้]

 
รอบ 8 ทีมสุดท้ายรอบรองชนะเลิศรอบชิงชนะเลิศ
 
          
 
11 มิถุนายน - ทาชเคนต์ (ปักห์ตากอร์)
 
 
 อุซเบกิสถาน
(ลูกโทษ)
2 (3)
 
15 มิถุนายน - ทาชเคนต์ (มิลลีย์)
 
 อิรัก2 (2)
 
 อุซเบกิสถาน2
 
12 มิถุนายน - ทาชเคนต์ (ปักห์ตากอร์)
 
 ญี่ปุ่น0
 
 เกาหลีใต้0
 
19 มิถุนายน - ทาชเคนต์ (มิลลีย์)
 
 ญี่ปุ่น3
 
 อุซเบกิสถาน0
 
11 มิถุนายน - ทาชเคนต์ (มิลลีย์)
 
 ซาอุดีอาระเบีย2
 
 ออสเตรเลีย1
 
15 มิถุนายน - ทาชเคนต์ (ปักห์ตากอร์)
 
 เติร์กเมนิสถาน0
 
 ออสเตรเลีย0
 
12 มิถุนายน - ทาชเคนต์ (โลโคโมติฟ)
 
 ซาอุดีอาระเบีย2 นัดชิงอันดับ 3
 
 ซาอุดีอาระเบีย2
 
18 มิถุนายน - ทาชเคนต์ (ปักห์ตากอร์)
 
 เวียดนาม0
 
 ญี่ปุ่น3
 
 
 ออสเตรเลีย0
 

รอบ 8 ทีมสุดท้าย[แก้]

ออสเตรเลีย 1–0 เติร์กเมนิสถาน
  • Orazow Goal 74' (เข้าประตูตัวเอง)
รายงานสด
รายงานสถิติ
ผู้ชม: 247 คน
ผู้ตัดสิน: Salman Ahmad Falahi (กาตาร์)


เกาหลีใต้ 0–3 ญี่ปุ่น
รายงานสด
รายงานสถิติ
ผู้ชม: 529 คน
ผู้ตัดสิน: Hanna Hattab (ซีเรีย)

ซาอุดีอาระเบีย 2–0 เวียดนาม
รายงานสด
รายงานสถิติ
ผู้ชม: 685 คน
ผู้ตัดสิน: Yusuke Araki (ญี่ปุ่น)

รอบรองชนะเลิศ[แก้]


นัดชิงอันดับที่ 3[แก้]

ญี่ปุ่น 3–0 ออสเตรเลีย
  • Sato Goal 7'
  • Trewin Goal 39' (เข้าประตูตัวเอง)
  • Fujio Goal 63'
รายงานสด
รายงานสถิติ

รอบชิงชนะเลิศ[แก้]

ชนะเลิศ[แก้]

ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 23 ปี 2022
ซาอุดีอาระเบีย
ซาอุดีอาระเบีย
หนึ่ง สมัย

ผู้ทำประตู[แก้]

มีการทำประตู 81 ประตู จากการแข่งขัน 32 นัด เฉลี่ย 2.53 ประตูต่อนัด


การทำประตู 3 ครั้ง

การทำประตู 2 ครั้ง

การทำประตู 1 ครั้ง

การทำเข้าประตูตัวเอง 1 ครั้ง

  • ออสเตรเลีย Kai Trewin (ในนัดที่พบกับ ญี่ปุ่น)
  • อิรัก Hussein Ammar (ในนัดที่พบกับ อุซเบกิสถาน)
  • ประเทศกาตาร์ Yousef Ayman (ในนัดที่พบกับ อุซเบกิสถาน)
  • เติร์กเมนิสถาน Oraz Orazow (ในนัดที่พบกับ ออสเตรเลีย)

อันดับทีมในรายการ[แก้]

ตามหลักในฟุตบอล แมตช์ที่ตัดสินในช่วงต่อเวลาพิเศษจะนับเป็นชนะและแพ้ ส่วนแมตช์ที่ตัดสินในการยิงจุดโทษหลังต่อเวลาะนับเป็นเสมอ

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน อันดับ
1  ซาอุดีอาระเบีย 6 5 1 0 13 0 +13 16 ชนะเลิศ
2  อุซเบกิสถาน (H) 6 3 2 1 12 5 +7 11 รองชนะเลิศ
3  ญี่ปุ่น 6 4 1 1 11 3 +8 13 อันดับ 3
4  ออสเตรเลีย 6 3 1 2 5 6 −1 10 อันดับ 4
5  เกาหลีใต้ 4 2 1 1 6 5 +1 7 ตกรอบ 8 ทีมสุดท้าย
6  อิรัก 4 1 3 0 7 5 +2 6
7  เวียดนาม 4 1 2 1 5 5 0 5
8  เติร์กเมนิสถาน 4 1 1 2 4 5 −1 4
9  ไทย 3 1 1 1 5 3 +2 4 ตกรอบแบ่งกลุ่ม
10  จอร์แดน 3 1 1 1 2 2 0 4
11  สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 3 1 0 2 3 4 −1 3
12  อิหร่าน 3 0 2 1 3 4 −1 2
13  กาตาร์ 3 0 2 1 3 9 −6 2
14  คูเวต 3 0 0 3 1 6 −5 0
15  มาเลเซีย 3 0 0 3 1 9 −8 0
16  ทาจิกิสถาน 3 0 0 3 0 10 −10 0
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
(H) เจ้าภาพ.

อ้างอิง[แก้]

  1. "Uzbekistan set to be first-ever Central Asian host of AFC U23 Asian Cup in 2022". AFC. 18 March 2021.
  2. "AFC Competitions Calendar 2022". AFC.
  3. "AFC U23 Asian Cup 2022 Competition Regulations". AFC.
  4. "AFC Competitions Calendar 2021". AFC.
  5. "AFC U23 Asian Cup Uzbekistan 2022™ draw set to reveal thrilling encounters". AFC. สืบค้นเมื่อ 14 February 2022.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]