ฟุตบอลชิงแชมป์เอเชีย รุ่นอายุไม่เกิน 16 ปี 2018

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 16 ปี 2018
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพมาเลเซีย
วันที่20 กันยายน – 7 ตุลาคม พ.ศ. 2561[1]
ทีม16 (จาก 1 สมาพันธ์)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศ ญี่ปุ่น (สมัยที่ 3)
รองชนะเลิศ ทาจิกิสถาน
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน31
จำนวนประตู97 (3.13 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม62,582 (2,019 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดออสเตรเลีย Noah Botic
ญี่ปุ่น Shoji Toyama
มาเลเซีย Luqman Hakim
(คนละ 5 ประตู)
ผู้เล่นยอดเยี่ยมญี่ปุ่น Jun Nishikawa
รางวัลแฟร์เพลย์ ญี่ปุ่น
2016

การแข่งขัน ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 16 ปี 2018 เป็นการแข่งขันครั้งที่ 18 ของ ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 16 ปี, เป็นการแข่งขันทัวร์นาเมนต์ฟุตบอลยุวชนที่จัดขึ้นสองปีต่อครั้ง จัดขึ้นโดย สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (เอเอฟซี) สำหรับทีมชาติประเภทชายรุ่นอายุไม่เกิน 16 ปี จากแต่ละชาติสมาชิก ทัวร์นาเมนต์จัดขึ้นที่ประเทศ มาเลเซีย โดยทั้งหมด 16 ทีมที่จะได้ลงเล่นในรายการนี้

เหมือนกับครั้งก่อนหน้านี้, รายการนี้จะได้สิทธิ์เป็นตัวแทนของเอเอฟซีในการแข่งขัน ฟุตบอลโลกเยาวชนอายุไม่เกิน 17 ปี สี่ทีมที่ดีที่สุดของรายการจะได้สิทธิ์สำหรับ ฟุตบอลโลกเยาวชนอายุไม่เกิน 17 ปี 2019 ที่ประเทศ เปรูต่อไป

รอบคัดเลือก[แก้]

  ได้เข้าแข่งขันในรอบสุดท้าย
  ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
  ไม่ส่งทีมเข้าร่วมแข่งขัน
  ไม่ได้เป็นสมาชิกเอเอฟซี

การแข่งขันจัดขึ้นเมื่อวันที่ 16–29 กันยายน พ.ศ. 2560.[2] โดยมาเลเซียเจ้าภาพในการแข่งขัน ยังส่งทีมเล่นในรอบคัดเลือก แม้จะได้ผ่านเข้ามาเล่นในฐานะเจ้าภาพอยู่แล้วก็ตาม

ทีมที่เข้ารอบ[แก้]

ด้านล่างนี่คือ 16 ทีมที่ได้ผ่านเข้าไปเล่นสำหรับรอบสุดท้าย.

ทีม เข้ารอบในฐานะ จำนวนครั้งที่เข้าร่วม ผลงานครั้งที่ผ่านมาที่ดีที่สุด
 มาเลเซีย เจ้าภาพ 5 รอบ 8 ทีมสุดท้าย (2014)
 จอร์แดน กลุ่ม เอ ชนะเลิศ 3 รอบ 8 ทีมสุดท้าย (2010)
 ทาจิกิสถาน กลุ่ม บี ชนะเลิศ 3 อันดับที่ 3 (2006)
 อิหร่าน กลุ่ม ซี ชนะเลิศ 11 ชนะเลิศ (2008)
 อิรัก กลุ่ม ดี ชนะเลิศ 10 ชนะเลิศ (2016)
 เยเมน กลุ่ม อี ชนะเลิศ 5 รองชนะเลิศ (2002)
 เกาหลีเหนือ กลุ่ม เอฟ ชนะเลิศ 11 ชนะเลิศ (2010, 2014)
 อินโดนีเซีย กลุ่ม จี ชนะเลิศ 6 อันดับที่ 4 (1990)
 เกาหลีใต้ กลุ่ม เอช ชนะเลิศ 14 ชนะเลิศ (1986, 2002)
 ออสเตรเลีย กลุ่ม ไอ ชนะเลิศ 6 รอบรองชนะเลิศ (2010, 2014)
 ญี่ปุ่น กลุ่ม เจ ชนะเลิศ 15 ชนะเลิศ (1994, 2006)
 โอมาน กลุ่ม บี รองชนะเลิศ[note 1] 10 ชนะเลิศ (1996, 2000)
 อินเดีย กลุ่ม ดี รองชนะเลิศ[note 1] 8 รอบ 8 ทีมสุดท้าย (2002)
 ไทย กลุ่ม จี รองชนะเลิศ[note 1] 11 ชนะเลิศ (1998)
 เวียดนาม กลุ่ม ไอ รองชนะเลิศ[note 1] 7 อันดับที่ 4 (2000)
 อัฟกานิสถาน กลุ่ม ซี รองชนะเลิศ[note 1] 1 ครั้งแรก

หมายเหตุ:

  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 มาเลเซีย นั้นเป็นรองแชมป์กลุ่มเจ ซึ่งในตารางอันดับที่ 2 ที่ดีที่สุด, 5 อันดับที่ดีที่สุดนั้นจะได้เข้าเล่น ซึ่งมาเลเซียได้อยู่ในอันดับที่ 4 ซึ่งเข้ารอบสุดท้ายจากเป็นเจ้าภาพอยู่แล้วนั้นจึงทำให้ อัฟกานิสถาน อันดับที่ 6 ในตารางอันดับที่ 2 ที่ดีที่สุดจึงได้ผ่านเข้ามาเล่นแทน

สนามแข่งขัน[แก้]

แต่ละนัดจะลงเล่นในสามสนามแข่งขันในพื้นที่ เกรเทอร์ กัวลาลัมเปอร์ (คลังก์ วัลลีย์).

กัวลาลัมเปอร์ เปตาลิงจายา
สนามกีฬาแห่งชาติบูกิตจาลิล สนามกีฬายูเอ็มอารีนา สนามกีฬาเปตาลิงจายา
ความจุ: 87,411 ความจุ: 1,000 ความจุ: 25,000

ผู้เล่น[แก้]

รอบแบ่งกลุ่ม[แก้]

สองทีมที่ดีที่สุดของแต่ละกลุ่มจะได้ผ่านเข้าสู่รอบก่อนรองชนะเลิศ.

เวลาทั้งหมดคือเวลาท้องถิ่น, MYT (UTC+8).

กลุ่ม เอ[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  ญี่ปุ่น 3 2 1 0 7 2 +5 7 รอบแพ้คัดออก
2  ทาจิกิสถาน 3 1 1 1 4 7 −3 4
3  ไทย 3 1 0 2 7 9 −2 3[a]
4  มาเลเซีย (H) 3 1 0 2 8 8 0 3[a]
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม
(H) เจ้าภาพ.
หมายเหตุ :
  1. 1.0 1.1 ผลการแข่งขัน เฮด-ทู-เฮด: ไทย 4–2 มาเลเซีย.


กลุ่ม บี[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  เกาหลีเหนือ 3 2 1 0 6 3 +3 7 รอบแพ้คัดออก
2  โอมาน 3 1 1 1 5 5 0 4
3  เยเมน 3 1 0 2 5 4 +1 3
4  จอร์แดน 3 0 2 1 5 9 −4 2
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม
โอมาน 2–0 เยเมน
Al-Jaradi Goal 14'35' รายงาน


เยเมน 5–1 จอร์แดน
Saif Goal 14'73' (ลูกโทษ)
Senan Goal 16'
Al-Qaaod Goal 24'
Issa Goal 25' (เข้าประตูตัวเอง)
รายงาน Banihani Goal 75' (ลูกโทษ)

กลุ่ม ซี[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  อินโดนีเซีย 3 1 2 0 3 1 +2 5 รอบแพ้คัดออก
2  อินเดีย 3 1 2 0 1 0 +1 5
3  อิหร่าน 3 1 1 1 5 2 +3 4
4  เวียดนาม 3 0 1 2 1 7 −6 1
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม


กลุ่ม ดี[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  เกาหลีใต้ 3 3 0 0 12 0 +12 9 รอบแพ้คัดออก
2  ออสเตรเลีย 3 2 0 1 6 4 +2 6
3  อิรัก 3 1 0 2 3 5 −2 3
4  อัฟกานิสถาน 3 0 0 3 1 13 −12 0
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม

อัฟกานิสถาน 0–7 เกาหลีใต้
รายงาน Ahn Gi-hun Goal 22'35'
Kazimi Goal 45' (เข้าประตูตัวเอง)
Paik Sang-hoon Goal 46'
Jeong Sang-bin Goal 59'63'
Hong Yun-sang Goal 67'

รอบแพ้คัดออก[แก้]

สายการแข่งขัน[แก้]

 
รอบ 8 ทีมรอบรองชนะเลิศรอบชิงชนะเลิศ
 
          
 
30 กันยายน – บูกิตจาลิล
 
 
 ญี่ปุ่น2
 
4 ตุลาคม – บูกิตจาลิล
 
 โอมาน1
 
 ญี่ปุ่น3
 
1 ตุลาคม – บูกิตจาลิล
 
 ออสเตรเลีย1
 
 อินโดนีเซีย2
 
7 ตุลาคม – บูกิตจาลิล
 
 ออสเตรเลีย3
 
 ญี่ปุ่น1
 
30 กันยายน – เปตาลิงจายา
 
 ทาจิกิสถาน0
 
 เกาหลีเหนือ1 (2)
 
4 ตุลาคม – เปตาลิงจายา
 
 ทาจิกิสถาน
(ลูกโทษ)
1 (4)
 
 ทาจิกิสถาน
(ลูกโทษ)
1 (7)
 
1 ตุลาคม – เปตาลิงจายา
 
 เกาหลีใต้1 (6)
 
 เกาหลีใต้1
 
 
 อินเดีย0
 

รอบก่อนรองชนะเลิศ[แก้]

ทีมที่ชนะเลิศจะได้สิทธิ์สำหรับ ฟุตบอลโลกเยาวชนอายุไม่เกิน 17 ปี 2019.

ญี่ปุ่น 2–1 โอมาน
I. Al-Naabi Goal 14' (เข้าประตูตัวเอง)
Toyama Goal 81'
รายงาน Al-Mashary Goal 22'



รอบรองชนะเลิศ[แก้]


รอบชิงชนะเลิศ[แก้]

ผู้ทำประตู[แก้]

การแข่งขันฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 16 ปีในครั้งนี้มีการทำประตูได้ทั้งหมด 97 ประตู โดยเป็นประตูที่ทำได้ใน 31 นัด สำหรับค่าเฉลี่ยในการทำประตูในแต่ละนัดคือ 3.13 ประตูต่อนัด

5 ประตู
4 ประตู
3 ประตู
2 ประตู
1 ประตู
1 การทำเข้าประตูตัวเอง
  • อัฟกานิสถาน Esmatullah Kazimi (ในนัดที่พบกับ เกาหลีใต้)
  • จอร์แดน Mohammad Issa (ในนัดที่พบกับ เยเมน)
  • โอมาน Issa Al-Naabi (ในนัดที่พบกับ ญี่ปุ่น)

ผู้สนับสนุน[แก้]

TOYOTA

CONTINENTAL

FLY EMIRATES

AU KDDI

SAISON CARD

FAMILY MART

MAKITA

JAPAN READING NATIONAL NEWSPAPER

THE-AFC.COM

ONE ASIA ONE GOAL

NIKON

หมายเหตุ[แก้]

  1. 1.0 1.1 1.2 The following venue changes were announced by the AFC on 25 September 2018 due to a request by the football associations of Malaysia and Indonesia in order to accommodate the large number of Indonesian fans:[3]

อ้างอิง[แก้]

  1. "AFC Competitions Calendar 2018" (PDF). AFC. 12 เมษายน พ.ศ. 2559. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2017-05-10. สืบค้นเมื่อ 2017-03-31. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  2. "AFC Competitions Calendar 2017" (PDF). AFC. 12 April 2016.
  3. "Group C Matchday Three venue change". Asian Football Confederation. 25 September 2018.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]