ข้ามไปเนื้อหา

ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรอาเซียน ฤดูกาล 2567–68

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ชอปปีคัพ 2024–25
รายละเอียดการแข่งขัน
วันที่รอบคัดเลือก: 17 – 24 กรกฎาคม 2567
รอบการแข่งขัน:
21 สิงหาคม 2567 – 21 พฤษภาคม 2568
ทีมรอบการแข่งขัน: 12
ทั้งหมด (สูงสุด): 14 (จาก 10 สมาคม)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศประเทศไทย บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด
รองชนะเลิศประเทศเวียดนาม คองอันฮานอย
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน35
จำนวนประตู101 (2.89 ประตูต่อนัด)

การแข่งขัน ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรอาเซียน ฤดูกาล 2567–68 (หรือ เอซีซี 2024–25), เป็นที่รู้จักในชื่อ ชอปปี คัพ 2024–25 เนื่องจากเหตุผลด้านผู้สนับสนุน,[1] จะเป็นครั้งที่สามของ ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรอาเซียน, การแข่งขัน ฟุตบอล ระดับนานาชาติระหว่างแชมป์สโมสรในประเทศ สังกัดสมาคมสมาชิกของ สหพันธ์ฟุตบอลอาเซียน. [2][3]

การจัดอันดับของแต่ละสมาคม

[แก้]

สโมสรทั้งหมดที่มาจากสิบสองชาติสมาชิกสมาคมฟุตบอลของ สหพันธ์ฟุตบอลอาเซียน ที่มีสิทธิ์เข้าร่วมการแข่งขัน; ออสเตรเลียและติมอร์เลสเตไม่ได้เข้าร่วม

ชาติที้เข้าร่วมสำหรับฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรอาเซียน ฤดูกาล 2024–25
เข้าร่วม
ไม่ได้เข้าร่วม
สมาคมฟุตบอล รอบแบ่งกลุ่ม เพลย์ออฟ
ประเทศอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย 2
ประเทศมาเลเซีย มาเลเซีย 2
ประเทศไทย ไทย 2
ประเทศเวียดนาม เวียดนาม 2
ประเทศฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์ 1
ประเทศสิงคโปร์ สิงคโปร์ 1
ประเทศบรูไน บรูไน 1
ประเทศกัมพูชา กัมพูชา 1
ประเทศลาว ลาว 1
ประเทศพม่า เมียนมาร์ 1
ประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
ประเทศติมอร์-เลสเต ติมอร์-เลสเต

ทีม

[แก้]
บันทึก
  1. ^
    Indonesia (IDN): เปอร์ซีจา จาการ์ตา รองชนะเลิศ ลีกาซาตู ฤดูกาล 2022–23 ปฏิเสธเข้าร่วมรายการนี้ จึงให้ บอร์เนียว เข้าร่วมแข่งขันแทน[7]
  2. ^
    Malaysia (MAS): โจโฮร์ดารุลตักซิม, ชนะเลิศ มาเลเซียซูเปอร์ลีก 2023 แต่ปฏิเสธที่จะเข้าร่วม
  3. ^
    Singapore (SGP): อัลบิเร็กซ์ นีงาตะ, ชนะเลิศ สิงคโปร์พรีเมียร์ลีก 2023 แต่ไม่มีสิทธิ์เป็นตัวแทนของสิงคโปร์ จึงให้ ไลออนซิตีเซเลอส์ ทีมชนะเลิศ สิงคโปร์คัพ 2023 เข้าแข่งขันแทน

ตารางการแข่งขัน

[แก้]

ตารางของการแข่งขันเป็นไปดังนี้.[8]

ด่าน รอบ วันที่จับสลาก เลกแรก เลกที่สอง
รอบคัดเลือก คัดเลือกเพลย์ออฟ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2567 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2567 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2567
รอบแบ่งกลุ่ม นัดที่ 1 21–22 สิงหาคม พ.ศ. 2567
นัดที่ 2 25–26 กันยายน พ.ศ. 2567
นัดที่ 3 8–9 มกราคม พ.ศ. 2568
นัดที่ 4 22–23 มกราคม พ.ศ. 2568
นัดที่ 5 5–6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2568
รอบแพ้คัดออก รอบรองชนะเลิศ 2 เมษายน พ.ศ. 2568 30 เมษายน พ.ศ. 2568
รอบชิงชนะเลิศ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2568 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2568

รอบคัดเลือก เพลย์ออฟ

[แก้]

สี่สโมสรที่มาจากสี่ชาติสมาคมสมาชิก จะเข้าร่วมการแข่งขันสำหรับสองจากสิบสองสิทธิ์ในระบบการแข่งขัน

ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง นัดแรก นัดที่สอง
ยัง อีเลแฟนท์ส ประเทศลาว 3–8 ประเทศกัมพูชา เปรอาห์ คัน รีช สวาย เรียง 2–3 1–5
คาซูกา ประเทศบรูไน 2–4 ประเทศพม่า ชานยูไนเต็ด 1–1 1–3

รอบแบ่งกลุ่ม

[แก้]

การจับสลากมีขึ้นเมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2567 ในโฮจิมินห์ซิตี ประเทศเวียดนาม สิบสองทีมจะถูกจับสลากแบ่งเป็นสองกลุ่มๆหกทีม โดยทีมที่มาจากประเทศเดียวกันจะไม่ได้อยู่ในกลุ่มเดียวกัน[9] รอบแบ่งกลุ่มจะเป็นรูปแบบรอบเดียวพบกันหมด สองทีมที่ดีที่สุดจากแต่ละกลุ่มจะได้ผ่านเข้าสู่รอบรองชนะเลิศ

ที่ตั้งของทีมใน ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรอาเซียน ฤดูกาล 2567–68 รอบแบ่งกลุ่ม
แดง: กลุ่ม เอ; ส้ม: กลุ่ม บี

กลุ่ม เอ

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ ประเทศไทย BGP ประเทศอินโดนีเซีย PSM ประเทศกัมพูชา PKS ประเทศมาเลเซีย TNG ประเทศเวียดนาม DOA ประเทศพม่า SHU
1 ประเทศไทย บีจี ปทุม ยูไนเต็ด (Q) 5 3 2 0 11 6 +5 11 ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก 2–1 4–3 1–1
2 ประเทศอินโดนีเซีย พีเอสเอ็ม (Q) 5 3 1 1 8 4 +4 10 0–0 3–0 4–3
3 ประเทศกัมพูชา เปรอาห์ คัน รีช สวาย เรียง 5 2 1 2 8 7 +1 7 0–1 4–2
4 ประเทศมาเลเซีย เตเร็งกานู 5 2 1 2 13 9 +4 7 1–0 2–3 2–2
5 ประเทศเวียดนาม ดงอ๊า ทัญฮว้า 5 1 3 1 6 7 −1 6 0–0 3–1
6 ประเทศพม่า ชาน ยูไนเต็ด 5 0 0 5 7 20 −13 0 1–4 0–5
แหล่งข้อมูล: อาเซียน ยูไนเต็ด เอฟซี
กฏการจัดอันดับ: 1) คะแนน; 2) คะแนน เฮด-ทู-เฮด; 3) ผลต่างประตู เฮด-ทู-เฮด; 4) ประตูที่ทำได้ เฮด-ทู-เฮด; 5) ผลต่างประตู; 6) จำนวนประตูที่ทำได้; 7) จัดอันดับแฟร์เพลย์; 8) จำนวนผลที่เสมอ.
(Q) ผ่านเข้าสู่รอบที่ระบุ

กลุ่ม บี

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ ประเทศเวียดนาม CAH ประเทศไทย BUR ประเทศมาเลเซีย KLC ประเทศอินโดนีเซีย BOR ประเทศสิงคโปร์ LCS ประเทศฟิลิปปินส์ KAY
1 ประเทศเวียดนาม คองอันฮานอย 5 5 0 0 15 6 +9 15 ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก 2–1 3–2 5–0
2 ประเทศไทย บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 5 3 1 1 13 2 +11 10 1–0 4–0 7–0
3 ประเทศมาเลเซีย กัวลาลัมเปอร์ซิตี 5 2 0 3 4 6 −2 6[a] 2–3 1–0 1–0
4 ประเทศอินโดนีเซีย บอร์เนียว 5 2 0 3 7 9 −2 6[a] 3–0 2–1
5 ประเทศสิงคโปร์ ไลออนซิตีเซเลอส์ 5 1 1 3 2 10 −8 4 0–0 2–0
6 ประเทศฟิลิปปินส์ คายา—อิลอยโล 5 1 0 4 4 12 −8 3 1–2 2–0
แหล่งข้อมูล: อาเซียน ยูไนเต็ด เอฟซี
กฏการจัดอันดับ: 1) คะแนน; 2) คะแนน เฮด-ทู-เฮด; 3) ผลต่างประตู เฮด-ทู-เฮด; 4) ประตูที่ทำได้ เฮด-ทู-เฮด; 5) ผลต่างประตู; 6) จำนวนประตูที่ทำได้; 7) จัดอันดับแฟร์เพลย์; 8) จำนวนผลที่เสมอ.
หมายเหตุ:
  1. 1.0 1.1 จัดอันดับโดย คะแนน เฮด-ทู-เฮด: กัวลาลัมเปอร์ซิตี (3); บอร์เนียว (0).

รอบแพ้คัดออก

[แก้]

สายการแข่งขัน

[แก้]
รอบรองชนะเลิศ รอบชิงชนะเลิศ
          
เอ2 ประเทศอินโดนีเซีย พีเอสเอ็ม 1 0 1
บี1 ประเทศเวียดนาม คองอันฮานอย 0 2 2
บี1 ประเทศเวียดนาม คองอันฮานอย 2 3 5 (2)
บี2 ประเทศไทย บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด (ดวลลูกโทษ) 2 3 5 (3)
บี2 ประเทศไทย บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 3 0 3
เอ1 ประเทศไทย บีจี ปทุม ยูไนเต็ด 1 0 1

รอบรองชนะเลิศ

[แก้]
ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง นัดแรก นัดที่สอง
พีเอสเอ็ม ประเทศอินโดนีเซีย 1–2 ประเทศเวียดนาม คองอันฮานอย 1–0 0–2
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด ประเทศไทย 3–1 ประเทศไทย บีจี ปทุม ยูไนเต็ด 3–1 0–0

รอบชิงชนะเลิศ

[แก้]
ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง นัดแรก นัดที่สอง
คองอันฮานอย ประเทศเวียดนาม 5–5 (ดวลลูกโทษ 2–3) ประเทศไทย บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 2–2 3–3 (ต่อเวลาพิเศษ)
คองอันฮานอย ประเทศเวียดนาม2–2ประเทศไทย บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด
รายงาน
ผู้ชม: 13,879 คน
ผู้ตัดสิน: คิม ฮี-กอน (เกาหลีใต้)


สถิติประจำฤดูกาล

[แก้]

ผู้ทำประตูสูงสุด

[แก้]
ณ วันที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2568.
  ทีมนั้นตกรอบ / ไม่มีกิจกรรมในรอบนี้.
  ผู้เล่นที่ไม่อยู่ในทีมแต่ทีมยังคงดำเนินการต่อในรอบนี้.
อันดับ ผู้เล่น ทีม MD1 MD2 MD3 MD4 MD5 SF1 SF2 F1 F2 ทั้งหมด
1 ประเทศบราซิล ลูกัส คริสปิม ประเทศไทย บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 3 1 4
ประเทศฟิลิปปินส์ แมนนี ออตต์ ประเทศมาเลเซีย เตเร็งกานู 1 1 2
2 ประเทศบราซิล เลอู อาร์ตูร์ ประเทศเวียดนาม กงอันฮานอย 3 3
ประเทศเวียดนาม เล ฟาน โด ประเทศเวียดนาม กงอันฮานอย 1 1 1
ประเทศโกตดิวัวร์ มุสซา บากายอโก ประเทศพม่า ชานยูไนเต็ด 1 1 1
ประเทศมาเลเซีย อัคห์ยาร์ ราชิด ประเทศมาเลเซีย เตเร็งกานู 1 2
ประเทศมาเลเซีย ซาฟาวี ราซิด ประเทศมาเลเซีย เตเร็งกานู 1 1 1
3 ประเทศบราซิล เลอู กาอูโช ประเทศอินโดนีเซีย บอร์เนียว 2 2
ประเทศบราซิล รานีเอล ประเทศไทย บีจี ปทุม ยูไนเต็ด 1 1
ประเทศไทย ณัฐวุฒิ สุขสุ่ม ประเทศไทย บีจี ปทุม ยูไนเต็ด 2
ประเทศบราซิล ลูอีซ อังตูนิโอ ประเทศเวียดนาม ดงอ๊า ทัญฮว้า 1 1
ประเทศสโลวีเนีย เนอร์มิน ฮัลเจตา ประเทศอินโดนีเซีย พีเอสเอ็ม 1 1
ประเทศบราซิล ปาโบล ประเทศกัมพูชา สวายเรียง 1 1
8 ประเทศไทย ธีรศิลป์ แดงดา ประเทศไทย บีจี ปทุม ยูไนเต็ด 1 1
ประเทศไทย สัญชัย นนทศิลา ประเทศไทย บีจี ปทุม ยูไนเต็ด 1
ประเทศคอสตาริกา เฟรดดี อัลบาเรซ ประเทศไทย บีจี ปทุม ยูไนเต็ด 1
ประเทศบราซิล แบร์กินโญ ประเทศอินโดนีเซีย บอร์เนียว 1
ประเทศอาร์เจนตินา มาเรียโน เปรัลตา ประเทศอินโดนีเซีย บอร์เนียว 1
ประเทศอินโดนีเซีย ดไวกี ฮาร์ดิอันสยาห์ ประเทศอินโดนีเซีย บอร์เนียว 1
ประเทศฟิลิปปินส์ เจฟเฟอร์สัน ทาบินาส ประเทศไทย บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 1
ประเทศไทย เสกสรรค์ ราตรี ประเทศไทย บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 1
ประเทศไทย ศุภชัย ใจเด็ด ประเทศไทย บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 1
ประเทศไทย อาทิตย์ เบิร์ก ประเทศไทย บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 1
ประเทศบราซิล ครีกอร์ ประเทศไทย บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 1
ประเทศบราซิล กิลเยร์เม บิสโซลี ประเทศไทย บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 1
ประเทศกินี-บิสเซาประเทศสเปน มาร์เซโล ฌาลู ประเทศไทย บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 1
ประเทศไทย รัตนากร ใหม่คามิ ประเทศไทย บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 1
ประเทศบราซิล อาลัน กราฟิเต ประเทศเวียดนาม กงอันฮานอย 1
ประเทศเวียดนาม ฟาน วัน ดึ๊ก ประเทศเวียดนาม กงอันฮานอย 1
ประเทศเวียดนาม เหงียน ดินห์ บัก ประเทศเวียดนาม กงอันฮานอย 1
ประเทศเวียดนาม สวาน หง็อก เติน ประเทศเวียดนาม กงอันฮานอย 1
ประเทศเวียดนาม ฟาน วัน ดึ๊ก ประเทศเวียดนาม กงอันฮานอย 1
ประเทศจาเมกา ริมาริโอ กอร์ดอน ประเทศเวียดนาม ดงอ๊า ทัญฮว้า 1
ประเทศบราซิล ยาโก ราโมส ประเทศเวียดนาม ดงอ๊า ทัญฮว้า 1
ประเทศฟิลิปปินส์ มาร์ก สเวนส์ตัน ประเทศฟิลิปปินส์ คายา เอฟซี 1
ประเทศมาเลเซีย เบรนแดน กัน ประเทศมาเลเซีย กัวลาลัมเปอร์ซิตี 1
ประเทศมาเลเซีย ฮาคิมี อาซิม ประเทศมาเลเซีย กัวลาลัมเปอร์ซิตี 1
ประเทศออสเตรเลีย ไบลีย์ ไรต์ ประเทศสิงคโปร์ ไลออนซิตีเซเลอส์ 1
ประเทศเบลเยียม มักซีเม เลสเตียนน์ ประเทศสิงคโปร์ ไลออนซิตีเซเลอส์ 1
ประเทศอินโดนีเซีย อับดุล ระห์มาน ประเทศอินโดนีเซีย พีเอสเอ็ม 1
ประเทศบราซิล อาลอยซิโอ เนตู ประเทศอินโดนีเซีย พีเอสเอ็ม 1
ประเทศเซเนกัล ลาตีร์ ฟอลล์ ประเทศอินโดนีเซีย พีเอสเอ็ม 1
ประเทศโกตดิวัวร์ อีฟราอิน รินตาโร ประเทศพม่า ชานยูไนเต็ด 1
ประเทศกานา มาร์ก เซกยี ประเทศพม่า ชานยูไนเต็ด 1
ประเทศบราซิล กาบรีแยล ซิลวา ประเทศกัมพูชา สวายเรียง 1
ประเทศกัมพูชา มิน ราตานัก ประเทศกัมพูชา สวายเรียง 1
หมายเหตุ
  • ประตูที่ทำได้ในรอบคัดเลือกเพลย์ออฟ คือไม่ได้นับรวมเมื่อทำการตัดสินผู้ทำประตูสูงสุด

อ้างอิง

[แก้]
  1. Nurikhsani, Gregah (4 April 2024). "AFF Gelar Kompetisi Antarklub Asia Tenggara Bernama Shopee Cup" [AFF Holds Southeast Asian Inter-Club Competition Called Shopee Cup]. Bola.com (ภาษาอินโดนีเซีย).
  2. "Asean Club Championship to launch after getting AFC and Fifa backing". 6 November 2019.
  3. "Fox Sports". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-11-06. สืบค้นเมื่อ 2023-05-16.
  4. Rahayu, Suci; Bagaskara, Sem (7 May 2024). "Persija Putuskan Absen, PSM Ikut ASEAN Club Championship 2024-2025". Kompas.com (ภาษาอินโดนีเซีย). สืบค้นเมื่อ 8 May 2024.
  5. "Borneo FC Wakili Indonesia di ASEAN Club Championship" [Borneo FC Represents Indonesia in the ASEAN Club Championship]. Borneo FC (ภาษาอินโดนีเซีย). สืบค้นเมื่อ 12 May 2024.
  6. 6.0 6.1 Musa, Muzaffar (5 April 2024). "Shopee Cup: Terengganu, KL City dipilih sebagai wakil negara" [Shopee Cup: Terengganu, KL City selected as country representatives]. Stadium Astro (ภาษามาเลย์). Measat Broadcast Network Systems Sdn Bhd. สืบค้นเมื่อ 6 April 2024.
  7. Israjab, Muhammad (8 May 2024). "Borneo FC RESMI Gantikan Persija Ajang ASEAN Club Championship 2024-2025 Ditunjuk PSSI, Alasannya". Tribunnews (ภาษาอินโดนีเซีย). Southeast Sulawesi. สืบค้นเมื่อ 8 May 2024.
  8. "ASEAN'S TOP CLUBS KICK-OFF QUEST TO CLAIM ASEAN CLUB CHAMPIONSHIP SHOPEE CUP TITLE™". aseanutdfc.com (ภาษาอังกฤษ). 9 May 2024. สืบค้นเมื่อ 9 May 2024.
  9. "ASEAN's Top Clubs Kick-off Quest to Claim ASEAN Club Championship Shopee Cup Title™". ASEAN United FC (ภาษาอังกฤษ). 9 May 2024. สืบค้นเมื่อ 10 May 2024.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]