ฟุตซอลหญิงชิงแชมป์เอเชีย 2018

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฟุตซอลหญิงชิงแชมป์เอเชีย 2018
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพไทย
วันที่2–12 พฤษภาคม 2561
ทีม15 (จาก 1 สมาพันธ์)
สถานที่(ใน 1 เมืองเจ้าภาพ)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศธงชาติอิหร่าน อิหร่าน
รองชนะเลิศธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น
อันดับที่ 3ธงชาติไทย ไทย
อันดับที่ 4ธงชาติเวียดนาม เวียดนาม
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน29
จำนวนประตู189 (6.52 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม9,266 (320 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดอิหร่าน Fatemeh Etedadi
อิหร่าน Sara Shirbeigi
ญี่ปุ่น Anna Amishiro
ไทย ศศิชา โพธิวงษ์ (คนละ 9 ประตู)
ผู้เล่นยอดเยี่ยมอิหร่าน Fereshteh Karimi
รางวัลแฟร์เพลย์ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน
2015
2020

ฟุตซอลหญิงชิงแชมป์เอเชีย 2018 จัดขึ้นที่ประเทศ ไทย ในวันที่ 2 ถึง 12 พฤษภาคม 2561 โดยมี 13 ประเทศมีส่วนร่วมในการแข่งขัน

ทีมที่ผ่านเข้ารอบ[แก้]

ทีม จำนวนครั้งที่เข้าร่วม
ในรอบสุดท้าย
ผลงานที่ดีที่สุดในการลงสนาม
ในรอบสุดท้าย
ธงชาติไทย ไทย 2 อันดับ 3 (2015)
ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน 2 ชนะเลิศ (2015)
ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น 2 รองชนะเลิศ (2015)
ธงชาติมาเลเซีย มาเลเซีย 2 อันดับ 4 (2015)
ธงชาติจีน จีน 2 รอบแบ่งกลุ่ม (2015)
ธงชาติฮ่องกง ฮ่องกง 2 รอบแบ่งกลุ่ม (2015)
ธงชาติอุซเบกิสถาน อุซเบกิสถาน 2 รอบแบ่งกลุ่ม (2015)
ธงชาติเวียดนาม เวียดนาม 2 รอบแบ่งกลุ่ม (2015)
ธงชาติบาห์เรน บาห์เรน 1 ครั้งแรก
ธงชาติจีนไทเป จีนไทเป 1 ครั้งแรก
ธงชาติเลบานอน เลบานอน 1 ครั้งแรก
ธงชาติมาเก๊า มาเก๊า 1 ครั้งแรก
ธงชาติเติร์กเมนิสถาน เติร์กเมนิสถาน 1 ครั้งแรก
ธงชาติบังกลาเทศ บังกลาเทศ 1 ครั้งแรก
ธงชาติอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย 1 ครั้งแรก

สนามแข่งขัน[แก้]

แต่ละนัดจะลงเล่นที่ บางกอกอารีนา และ อินดอร์ สเตเดียม หัวหมาก ใน กรุงเทพมหานคร.

หนองจอก กรุงเทพมหานคร บางกะปิ
บางกอกอารีนา อินดอร์ สเตเดียม หัวหมาก
ความจุ: 12,000 ความจุ: 10,000
ฟุตซอลหญิงชิงแชมป์เอเชีย 2018 (กรุงเทพมหานคร)

การจับสลาก[แก้]

การจับสลากรอบสุดท้ายมีขึ้นเมื่อวันที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2561, 15:30 MYT (UTC+8), ที่ เอเอฟซี เฮ้าส์ ในกรุง กัวลาลัมเปอร์.[1] 15 ทีมจะถูกจับสลากอยู่ในหนึ่งกลุ่มที่มีสี่ทีม (กลุ่ม A, B และ C) และหนึ่งกลุ่มที่มีสามทีม (กลุ่ม D).[2]

โถ 1 โถ 2 โถ 3
  1. ธงชาติไทย ไทย (เจ้าภาพ; ตำแหน่ง เอ1)
  2. ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน
  3. ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น
  4. ธงชาติมาเลเซีย มาเลเซีย

ผู้เล่น[แก้]

รอบแบ่งกลุ่ม[แก้]

เวลาทั้งหมดเป็นเวลาท้องถิ่น, ICT (UTC+7).

กลุ่ม A[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติไทย ไทย (H) 3 2 1 0 24 1 +23 7 รอบแพ้คัดออก
2 ธงชาติอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย 3 2 1 0 12 1 +11 7
3 ธงชาติฮ่องกง ฮ่องกง 3 1 0 2 7 10 −3 3
4 ธงชาติมาเก๊า มาเก๊า 3 0 0 3 0 31 −31 0
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม
(H) เจ้าภาพ.
ธงชาติฮ่องกง ฮ่องกง0–2ธงชาติอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย
รายงาน Febriana Goal 33'
Fitri Goal 38'
ธงชาติไทย ไทย15–0ธงชาติมาเก๊า มาเก๊า
ศศิชา Goal 2'3'19'30'31'
จิระประภา น. Goal 5'
ดาริกา Goal 6'14'16'
เจนจิรา Goal 8'
มุทิตา Goal 20'
พัชรพร Goal 32'
อรพิน Goal 35'
จิระประภา ท. Goal 37'
Kuan Chi Kio Goal 37' (เข้าประตูตัวเอง)
รายงาน

ธงชาติมาเก๊า มาเก๊า0–7ธงชาติฮ่องกง ฮ่องกง
รายงาน Yuen Hoi Dik Heidi Goal 13'15'
Yiu Hei Man Goal 19'
Ng Wing Kum Goal 24'
Cheung Wai Ki Goal 28'38'
Wong So Han Goal 39'
ธงชาติอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย1–1ธงชาติไทย ไทย
Febriana Goal 24' รายงาน ดาริกา Goal 25'

ธงชาติไทย ไทย8–0ธงชาติฮ่องกง ฮ่องกง
เจนจิรา Goal 1'26'
มุทิตา Goal 2'
ศศิชา Goal 8'19'30'
ดาริกา Goal 33'
ณัฐมน Goal 40'
รายงาน
ธงชาติอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย9–0ธงชาติมาเก๊า มาเก๊า
Kuan Chi Kio Goal 2' (เข้าประตูตัวเอง)
Fitri Goal 3'15'28'
Rani Goal 11'21'
Fitriya Goal 25'26'
Anggi Goal 33'
รายงาน
ผู้ชม: 50 คน
ผู้ตัดสิน: Mari Miyazaki (ญี่ปุ่น)

กลุ่ม B[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติเวียดนาม เวียดนาม 3 3 0 0 11 1 +10 9 รอบแพ้คัดออก
2 ธงชาติจีนไทเป จีนไทเป 3 2 0 1 10 4 +6 6
3 ธงชาติมาเลเซีย มาเลเซีย 3 1 0 2 10 8 +2 3
4 ธงชาติบังกลาเทศ บังกลาเทศ 3 0 0 3 2 20 −18 0
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม
ธงชาติเวียดนาม เวียดนาม1–0ธงชาติจีนไทเป จีนไทเป
Nguyễn Thị Thành Goal 30' รายงาน
ผู้ชม: 50 คน
ผู้ตัดสิน: Chiara Perona (อิตาลี)
ธงชาติมาเลเซีย มาเลเซีย7–1ธงชาติบังกลาเทศ บังกลาเทศ
Hanis Goal 3'
Zurain Goal 4'
Siti Asnidah Goal 18'
Shazreen Goal 19'40'
Atiqah Goal 20'
Intan Goal 22'
รายงาน Parvin Goal 3'
ผู้ชม: 50 คน
ผู้ตัดสิน: Liang Qingyun (จีน)

ธงชาติบังกลาเทศ บังกลาเทศ0–7ธงชาติเวียดนาม เวียดนาม
รายงาน Đỗ Thị Nguyên Goal 3'31'39'
Võ Thị Thùy Trinh Goal 11'12'
Nguyễn Thị Thành Goal 21'
Lê Thị Thùy Linh Goal 24'
ผู้ชม: 56 คน
ผู้ตัดสิน: Mari Miyazaki (ญี่ปุ่น)
ธงชาติจีนไทเป จีนไทเป4–2ธงชาติมาเลเซีย มาเลเซีย
Chen Ya-chun Goal 18' (ลูกโทษ)
Wang Shu-wen Goal 26'
Hsieh Pei-fen Goal 29'
Kuo Tsu-erh Goal 32'
รายงาน Siti Asnidah Goal 5'
Zurain Goal 35'
ผู้ชม: 100 คน
ผู้ตัดสิน: Kumiko Matsuo (ญี่ปุ่น)

ธงชาติมาเลเซีย มาเลเซีย1–3ธงชาติเวียดนาม เวียดนาม
Zurain Goal 19' รายงาน Đỗ Thị Nguyên Goal 17'
Trịnh Nguyễn Thanh Hằng Goal 18'39'
ผู้ชม: 50 คน
ผู้ตัดสิน: Liang Qingyun (จีน)
ธงชาติจีนไทเป จีนไทเป6–1ธงชาติบังกลาเทศ บังกลาเทศ
A. Khatun Goal 1' (เข้าประตูตัวเอง)
Lin Ya-hui Goal 3'29'
Tang Yung-ching Goal 9'
Wang Shu-wen Goal 18'
Kuo Tsu-erh Goal 25'
รายงาน S. Khatun Goal 22'

กลุ่ม C[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น 3 3 0 0 24 5 +19 9 รอบแพ้คัดออก
2 ธงชาติจีน จีน 3 2 0 1 15 8 +7 6
3 ธงชาติเลบานอน เลบานอน 3 1 0 2 4 13 −9 3
4 ธงชาติบาห์เรน บาห์เรน 3 0 0 3 4 21 −17 0
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม
ธงชาติจีน จีน5–2ธงชาติบาห์เรน บาห์เรน
Li Jingjing Goal 3'
Tian Jiao Goal 11'
Zhan Huimin Goal 14'
Li Yingqing Goal 16'
Shen Nan Goal 18'
รายงาน Al Isa Goal 1'
Yaqoob Goal 15'
ผู้ชม: 50 คน
ผู้ตัดสิน: Maryam Poor Jafarian (อิหร่าน)
ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น5–1ธงชาติเลบานอน เลบานอน
Eguchi Goal 2'
Kato Goal 8'
Amishiro Goal 13'
Egawa Goal 25'
Katsumata Goal 31'
รายงาน Rashid Goal 15'
ผู้ชม: 50 คน
ผู้ตัดสิน: Fathi Zari (อิหร่าน)

ธงชาติเลบานอน เลบานอน0–6ธงชาติจีน จีน
รายงาน Li Jingjing Goal 2'20'
Shen Nan Goal 28'38'
Zhan Huimin Goal 33'
Tian Jiao Goal 39'
ผู้ชม: 60 คน
ผู้ตัดสิน: Ridzuan Rozali (มาเลเซีย)
ธงชาติบาห์เรน บาห์เรน0–13ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น
รายงาน Wakabayashi Goal 7'17'34'
Amishiro Goal 10'28'37'
Egawa Goal 18'36'
Katsumata Goal 20'
Fujita Goal 29'
Eguchi Goal 35'
Chida Goal 38'39'
ผู้ชม: 95 คน
ผู้ตัดสิน: Chiara Perona (อิตาลี)

ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น6–4ธงชาติจีน จีน
Amishiro Goal 4'32'40'
Egawa Goal 7'
Nakajima Goal 38'
Komura Goal 40'
รายงาน Li Yingqing Goal 20'
Tian Jiao Goal 24'
Wang Ting Goal 39'
Li Jingjing Goal 40'
ผู้ชม: 80 คน
ผู้ตัดสิน: Maryam Poor Jafarian (อิหร่าน)
ธงชาติบาห์เรน บาห์เรน2–3ธงชาติเลบานอน เลบานอน
Mubarak Goal 12'
Al Khattal Goal 15'
รายงาน Rachid Goal 3'10'
Hosry Goal 23'

กลุ่ม D[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน 2 2 0 0 23 2 +21 6 รอบแพ้คัดออก
2 ธงชาติอุซเบกิสถาน อุซเบกิสถาน 2 1 0 1 5 10 −5 3
3 ธงชาติเติร์กเมนิสถาน เติร์กเมนิสถาน 2 0 0 2 1 17 −16 0
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม
ธงชาติเติร์กเมนิสถาน เติร์กเมนิสถาน0–14ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน
รายงาน Etedadi Goal 1'12'35'38'
Zarei Goal 5'6'40'
Karimi Goal 8'16'23'
Papi Goal 16'
Moghimidarz Goal 18'
Sadaghianizadeh Goal 24'
Shirbeigi Goal 32'


ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน9–2ธงชาติอุซเบกิสถาน อุซเบกิสถาน
Zarbieva Goal 1' (เข้าประตูตัวเอง)
Shirbeigi Goal 2'24'32'
Karimi Goal 3'
Etedadi Goal 10'34'
Arzhangi Goal 25'
Khosravi Goal 40'
รายงาน Safina Goal 30'
Shoyimova Goal 38' (ลูกโทษ)

รอบแพ้คัดอออก[แก้]

สายการแข่งขัน[แก้]

 
รอบ 8 ทีมรอบรองชนะเลิศรอบชิงชนะเลิศ
 
          
 
9 พฤษภาคม – กรุงเทพมหานคร (หัวหมาก)
 
 
ธงชาติไทย ไทย6
 
10 พฤษภาคม – กรุงเทพมหานคร (หัวหมาก)
 
ธงชาติจีนไทเป จีนไทเป1
 
ธงชาติไทย ไทย1
 
9 พฤษภาคม – กรุงเทพมหานคร (หัวหมาก)
 
ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น2
 
ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น5
 
12 พฤษภาคม – กรุงเทพมหานคร (หัวหมาก)
 
ธงชาติอุซเบกิสถาน อุซเบกิสถาน1
 
ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น2
 
9 พฤษภาคม – กรุงเทพมหานคร (อารีนา)
 
ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน5
 
ธงชาติเวียดนาม เวียดนาม2
 
10 พฤษภาคม – กรุงเทพมหานคร (หัวหมาก)
 
ธงชาติอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย1
 
ธงชาติเวียดนาม เวียดนาม0
 
9 พฤษภาคม – กรุงเทพมหานคร (อารีนา)
 
ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน5 รอบชิงอันดับที่สาม
 
ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน4
 
12 พฤษภาคม – กรุงเทพมหานคร (หัวหมาก)
 
ธงชาติจีน จีน2
 
ธงชาติไทย ไทย (ลูกโทษ) 0 (3)
 
 
ธงชาติเวียดนาม เวียดนาม0 (2)
 

รอบก่อนรองชนะเลิศ[แก้]

ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน4–2ธงชาติจีน จีน
Karimi Goal 2'
Gholami Goal 16'
Etedadi Goal 21'
Shirbeigi Goal 37'
รายงาน Tian Jiao Goal 3'
Zhang Yue Goal 9'
ผู้ชม: 80 คน
ผู้ตัดสิน: Irina Velikanova (รัสเซีย)

ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น5–1ธงชาติอุซเบกิสถาน อุซเบกิสถาน
Amishiro Goal 15'
Egawa Goal 21'
Yokoyama Goal 26'
Nakajima Goal 28'
Yotsui Goal 33'
รายงาน Safina Goal 36'

ธงชาติเวียดนาม เวียดนาม2–1ธงชาติอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย
Bùi Thị Trang Goal 13'
Nguyễn Thị Huế Goal 37'
รายงาน Febriana Goal 25'
ผู้ชม: 80 คน
ผู้ตัดสิน: Kumiko Matsuo (ญี่ปุ่น)

รอบรองชนะเลิศ[แก้]

ทีมชนะเลิศในรอบนี้จะได้สิทธิ์เข้าแข่งขันสำหรับ ฟุตซอลในโอลิมปิกเยาวชนฤดูร้อน 2018 ประเภททีมหญิง, เพื่อเป็นตัวแทนของพวกเขาในชุด ยู-18.

ธงชาติเวียดนาม เวียดนาม0–5ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน
รายงาน Sadaghianizadeh Goal 5'
Etedadi Goal 10'37'
Shirbeigi Goal 14'
Zarei Goal 16'

ธงชาติไทย ไทย1–2ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น
เจนจิรา Goal 30' รายงาน Egawa Goal 5'
Kato Goal 33'
ผู้ชม: 1,578 คน
ผู้ตัดสิน: Osama Saeed Idrees Sedaif (บาห์เรน)

นัดชิงอันดับที่ 3[แก้]

รอบชิงชนะเลิศ[แก้]

ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น2–5ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน
Eguchi Goal 36'
Amishiro Goal 40'
รายงาน Shirbeigi Goal 27'30'31'
Komura Goal 30' (เข้าประตูตัวเอง)
Zarei Goal 36'

ทีมที่ผ่านเข้ารอบสำหรับโอลิมปิกยุวชน[แก้]

ทีม วันที่ผ่านเข้ารอบ ผลงานดีที่สุดครั้งที่ผ่านมา
ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน 10 พฤษภาคม 2561 0 (ครั้งแรก)
ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น 10 พฤษภาคม 2561 0 (ครั้งแรก)

อันดับดาวซัลโว[แก้]

9 ประตู
6 ประตู
5 ประตู
4 ประตู
3 ประตู
2 ประตู
1 ประตู
1 การทำเข้าประตูตัวเอง
  • บังกลาเทศ Akhi Khatun (ในนัดที่พบกับ จีนไทเป)
  • ญี่ปุ่น Misato Komura (ในนัดที่พบกับ อิหร่าน)
  • อุซเบกิสถาน Tanzilya Zarbieva (ในนัดที่พบกับ อิหร่าน)
2 การทำเข้าประตูตัวเอง
  • มาเก๊า Kuan Chi Kio (ในนัดที่พบกับ ไทย, อินโดนีเซีย)

อ้างอิง[แก้]

  1. "Stage set for 2018 AFC Women's Futsal Championship Official Draw". AFC. 4 มีนาคม พ.ศ. 2561. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  2. "AFC Women's Futsal Championship Thailand 2018 draw concluded". AFC. 5 มีนาคม พ.ศ. 2561. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]