ข้ามไปเนื้อหา

ฟอร์มูลาวันชิงแชมป์โลก 2024

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
มักซ์ แฟร์สตัปเปิน นักขับของเร็ดบุลเรซซิง-ฮอนด้า อาร์บีพีที ได้รับตำแหน่งแชมป์โลกประเภทนักขับเป็นสมัยที่สี่
แลนโด นอร์ริส นักขับของแม็กลาเรน-เมอร์เซเดส จบฤดูกาลด้วยอันดับที่สองในการชิงแชมป์โลกประเภทนักขับ
ชาร์ล เลอแกลร์ นักขับของแฟร์รารี จบฤดูกาลด้วยอันดับที่สามในการชิงแชมป์โลกประเภทนักขับ
แม็กลาเรน-เมอร์เซเดส ได้รับตำแหน่งแชมป์โลกประเภทผู้ผลิตเป็นสมัยที่เก้า และสมัยแรกของพวกเขาตั้งแต่ฤดูกาล 1998
แฟร์รารี จบฤดูกาลด้วยอันดับที่สองในการชิงแชมป์โลกประเภทผู้ผลิต
เร็ดบุลเรซซิง-ฮอนด้า อาร์บีพีที แชมป์โลกประเภทผู้ผลิตฤดูกาลก่อนหน้า จบฤดูกาลด้วยอันดับที่สาม

การแข่งขัน เอฟไอเอ ฟอร์มูลาวันชิงแชมป์โลก 2024 (อังกฤษ: 2024 Formula One World Championship) เป็นการแข่งขันรถฟอร์มูลาวันชิงแชมป์โลกครั้งที่ 75 ได้รับการรับรองในฐานะการแข่งขันระดับสูงสุดของการแข่งรถประเภทล้อเปิดโดยสหพันธ์รถยนต์ระหว่างประเทศ (เอฟไอเอ) ซึ่งเป็นหน่วยงานกำกับดูแลกีฬาท้าความเร็วระดับโลก การแข่งขันชิงแชมป์โลกมีกำหนดการแข่งขันเป็นสถิติสูงสุด 24 กรังด์ปรีซ์ที่จัดขึ้นทั่วโลก

นักขับและทีมผู้ผลิตเข้าร่วมการแข่งขันกันเพื่อชิงตำแหน่งแชมป์โลกประเภทนักขับ และแชมป์โลกประเภทผู้ผลิตตามลำดับ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน ซึ่งเป็นแชมป์โลกประเภทนักขับฤดูกาลก่อนหน้า เริ่มต้นฤดูกาลด้วยชัยชนะห้าครั้งในการแข่งขันเจ็ดรอบแรก แต่ต้องถูกกดดันจากแลนโด นอร์ริส นักขับของแม็กลาเรน-เมอร์เซเดส ไปตลอดการแข่งขันที่เหลือของฤดูกาล หลังจากรถอาร์บี20 ของเขาทำผลงานออกมาด้วยประสิทธิภาพต่ำกว่ารถเอ็มซีแอล38 ของนอร์ริส ถึงอย่างนั้นแฟร์สตัปเปินก็ทำผลงานในสนามได้อย่างคงเส้นคงวา และได้รับตำแหน่งแชมป์โลกประเภทนักขับสมัยที่สี่ติดต่อกันที่ลาสเวกัสกรังด์ปรีซ์[1] ขณะที่แม็กลาเรนขึ้นนำเร็ดบุลเรซซิง-ฮอนด้า อาร์บีพีที ซึ่งเป็นแชมป์โลกประเภทผู้ผลิตฤดูกาลก่อนหน้า และได้รับตำแหน่งแชมป์โลกเป็นสมัยที่เก้าที่อาบูดาบีกรังด์ปรีซ์ ทำให้แม็กลาเรนเป็นผู้ผลิตแรกที่ได้รับตำแหน่งแชมป์โลกนอกเหนือจากเร็ดบุลเรซซิงและเมอร์เซเดส นับตั้งแต่ตำแหน่งแชมป์โลกของบรอว์น ในฤดูกาล 2009[2][3]

ผู้เข้าแข่งขัน

[แก้]

ทีมผู้ผลิตและนักขับต่อไปนี้เข้าร่วมการแข่งขันฟอร์มูลาวันชิงแชมป์โลก 2024 ทุกทีมแข่งขันโดยใช้ยางรถยนต์ที่จัดหาโดยปีเรลลี[4] แต่ละทีมต้องส่งนักขับเข้าร่วมการแข่งขันอย่างน้อยสองคน โดยกำหนดให้นักขับประจำรถหนึ่งคนต่อรถหนึ่งคันจากที่กำหนดให้เข้าแข่งขันสองคัน[5]

ทีมและนักขับในการแข่งขันฟอร์มูลาวันชิงแชมป์โลก 2024
ผู้เข้าแข่งขัน ผู้ผลิต แชสซี เครื่องยนต์ นักขับ
หมายเลข ชื่อ รอบที่ลงแข่ง
France บีดับเบิลยูที อาลปีน เอฟวันทีม อาลปีน-เรอโนลต์ เอ524[6] เรอโนลต์ อี-เทค อาร์อี24[7] 10
31
61
France ปีแยร์ กัสลี
France แอ็สเตบาน ออกง
Australia แจ็ก ดูฮาน
ทั้งหมด
1–23
24
United Kingdom แอสตันมาร์ติน อะแรมโค เอฟวันทีม แอสตันมาร์ติน อะแรมโค-เมอร์เซเดส เอเอ็มอาร์24[8] เมอร์เซเดส-เอเอ็มจี เอฟ1 เอ็ม15[9] 14
18
Spain เฟร์นันโด อาลอนโซ
Canada แลนซ์ สโตรลล์
ทั้งหมด
ทั้งหมด
Italy สกูเดเรียแฟร์รารี แฟร์รารี เอสเอฟ-24[10] แฟร์รารี 066/12[11] 16
55
38
Monaco ชาร์ล เลอแกลร์
Spain การ์โลส ไซนซ์ ยูนิออร์
Great Britain โอลิเวอร์ แบร์แมน
ทั้งหมด
ทั้งหมด[a]
2
United States มันนี่แกรม ฮาส เอฟวันทีม ฮาส-แฟร์รารี วีเอฟ-24[13] แฟร์รารี 066/10[14][15] 20
50
27
Denmark เควิน เมานุสเซิน
United Kingdom โอลิเวอร์ แบร์แมน
Germany นีโค ฮึลเคินแบร์ค
1–16, 18–24[b]
17, 21
ทั้งหมด
Switzerland สเตก เอฟวันทีม คิก เซาเบอร์[17][c] คิก เซาเบอร์-แฟร์รารี ซี44[20] แฟร์รารี 066/12[7] 24
77
China โจว กว้านยฺหวี่
Finland วัลต์เตรี โบตตัส
ทั้งหมด
ทั้งหมด
United Kingdom แม็กลาเรน ฟอร์มูลาวันทีม แม็กลาเรน-เมอร์เซเดส เอ็มซีแอล38[21] เมอร์เซเดส-เอเอ็มจี เอฟ1 เอ็ม15[7][22] 4
81
Great Britain แลนโด นอร์ริส
Australia ออสการ์ พิแอสทรี
ทั้งหมด
ทั้งหมด
Germany เมอร์เซเดส-เอเอ็มจี เปโตรนาส เอฟวันทีม เมอร์เซเดส เอฟ1 ดับเบิลยู15[23] เมอร์เซเดส-เอเอ็มจี เอฟ1 เอ็ม15[24] 44
63
Great Britain ลูวิส แฮมิลตัน
Great Britain จอร์จ รัสเซลล์
ทั้งหมด
ทั้งหมด
Italy วีซา แคชแอป อาร์บี เอฟวันทีม[25] อาร์บี-ฮอนด้า อาร์บีพีที วีซีเออาร์บี 01[26] ฮอนด้า อาร์บีพีทีเอช002[27][28][29] 3
30
22
Australia แดเนียล ริคาร์โด
New Zealand เลียม ลอว์สัน
Japan ยูกิ สึโนดะ
1–18
19–24
ทั้งหมด
Austria ออราเคิล เร็ดบุลเรซซิง เร็ดบุลเรซซิง-ฮอนด้า อาร์บีพีที อาร์บี20[30] ฮอนด้า อาร์บีพีทีเอช002[28][29][31] 1
11
Netherlands มักซ์ แฟร์สตัปเปิน
Mexico เซร์ฆิโอ เปเรซ
ทั้งหมด
ทั้งหมด
United Kingdom วิลเลียมส์เรซซิง วิลเลียมส์-เมอร์เซเดส เอฟดับเบิลยู46[32] เมอร์เซเดส-เอเอ็มจี เอฟ1 เอ็ม15[33] 2
43
23
United States โลแกน ซาร์เจนต์
Argentina ฟรันโก โกลาปินโต
Thailand อเล็กซานเดอร์ อัลบอน
1–15[d]
16–24
ทั้งหมด
แหล่งที่มา:[19][35]

นักขับรอบฝึกซ้อม

[แก้]

ตลอดทั้งฤดูกาลแข่งขัน แต่ละทีมผู้ผลิตจำเป็นต้องส่งนักขับเข้าร่วมรอบฝึกซ้อมหนึ่งในสองรอบแรกของการแข่งขัน โดยนักขับจะต้องไม่เคยเข้าร่วมการแข่งขันเกินสองการแข่งขัน และอยู่ประจำรถหนึ่งคนต่อรถหนึ่งคัน[5] ยกเว้นการลงสนามครั้งแรกกับแฟร์รารีของโอลิเวอร์ แบร์แมน ในการแข่งขันซาอุดีอาระเบียนกรังด์ปรีซ์ ที่จะไม่ถูกนับเป็นการแข่งขันตามเกณฑ์ที่กำหนด เนื่องจากเขาเข้าร่วมรอบฝึกซ้อมเพียงแค่รอบที่สาม ซึ่งสองรอบแรกนั้น การ์โลส ไซนซ์ ยูนิออร์ เป็นผู้ขับในรถคันเดียวกัน[36]

นักขับที่เข้าร่วมรอบฝึกซ้อมรอบแรกและรอบที่สอง
ผู้ผลิต หมายเลข นักขับ รอบที่ฝึกซ้อม
อาลปีน-เรอโนลต์ 61 Australia  แจ็ก ดูฮาน 9, 12
แอสตันมาร์ติน อะแรมโค-เมอร์เซเดส 34 Brazil  ฟีลีปี ดรูกอวิช 20, 24
แฟร์รารี 38
39
United Kingdom โอลิเวอร์ แบร์แมน
Monaco  อาร์ตูร์ เลอแกลร์
20
24
ฮาส-แฟร์รารี 50 United Kingdom โอลิเวอร์ แบร์แมน 7, 10, 12–13
คิก เซาเบอร์-แฟร์รารี 97 Israel  โรเบียร์ต ชวาร์ซมัน 15, 20
แม็กลาเรน-เมอร์เซเดส 29
28
Mexico  ปาตริซิโอ โอวอร์ด
Japan  เรียว ฮิรากาวะ
20
24
เมอร์เซเดส 12 Italy  อันเดรอา คีมี อันโตเนลลี 16, 20
อาร์บี-ฮอนด้า อาร์บีพีที 40 Japan  อายูมุ อิวาซะ 4, 24
เร็ดบุลเรซซิง-ฮอนด้า อาร์บีพีที 37 France  อีซัก อาดฌาร์ 12, 24
วิลเลียมส์-เมอร์เซเดส 45
46
Argentina  ฟรันโก โกลาปินโต
United Kingdom  ลู้ก บราวนิง
12
24
แหล่งที่มา:[19][37]

การเปลี่ยนแปลงทีม

[แก้]

อัลฟาโรเมโอยุติความร่วมมือกับเซาเบอร์ และออกจากการแข่งขันฟอร์มูลาวันในฤดูกาล 2023 หลังจากเซาเบอร์เตรียมตัวเป็นทีมโรงงานให้กับอาวดี้ ในฤดูกาล 2026[38][39] เพราะเหตุนี้ทีมจึงปรับภาพลักษณ์ใหม่เป็น สเตก เอฟวันทีม คิก เซาเบอร์ และเข้าแข่งขันด้วยชื่อผู้ผลิตว่า คิก เซาเบอร์[40][17] อัลฟาทอรีปรับภาพลักษณ์ใหม่เป็น อาร์บี และย้ายสถานที่ปฏิบัติการทางอากาศพลศาสตร์ของทีมไปยังมิลตันคีนส์ สหราชอาณาจักร ระหว่างการปรับโครงสร้างองค์กร[25][41][42]

การเปลี่ยนแปลงนักขับ

[แก้]
โอลิเวอร์ แบร์แมน (กลาง) ลงแข่งขันแทน การ์โลส ไซนซ์ ยูนิออร์ (ซ้าย) กับแฟร์รารีในการแข่งขันซาอุดีอาระเบียนกรังด์ปรีซ์ และ เควิน เมานุสเซิน (ขวา) กับฮาสในการแข่งขันอาเซอร์ไบจานและเซาเปาโลกรังด์ปรีซ์ตามลำดับ
ฟรันโก โกลาปินโต (บนซ้าย) เข้ามาแทนที่ โลแกน ซาร์เจนต์ (บนขวา) กับวิลเลียมส์ตั้งแต่การแข่งขันอิตาเลียนกรังด์ปรีซ์เป็นต้นมา เลียม ลอว์สัน (กลางซ้าย) เข้ามาแทนที่ แดเนียล ริคาร์โด (กลางขวา) กับอาร์บีตั้งแต่การแข่งขันยูไนเต็ดสเตตส์กรังด์ปรีซ์เป็นต้นมา และ แจ็ก ดูฮาน (ล่างซ้าย) เข้ามาแทนที่ แอ็สเตบาน ออกง (ล่างขวา) กับอาลปีนในการแข่งขันอาบูดาบีกรังด์ปรีซ์

การเปลี่ยนแปลงสัญญานักขับในช่วงต้นฤดูกาล 2023 เกิดขึ้นเพียงครั้งเดียวกับอัลฟาทอรี ซึ่งเปลี่ยนนักขับจาก นิก เดอ ฟรีส เป็น แดเนียล ริคาร์โด ตั้งแต่การแข่งขันฮังการเรียนกรังด์ปรีซ์เป็นต้นมา[43] การรวมทีมและนักขับทุกคนที่เข้าร่วมการแข่งขันรอบสุดท้ายของฤดูกาลก่อนหน้ายังคงไม่เปลี่ยนแปลงสำหรับช่วงต้นของฤดูกาลนี้ ซึ่งถือเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์การชิงแชมป์โลกฟอร์มูลาวัน[44][45]

การเปลี่ยนแปลงนักขับในฤดูกาล

[แก้]

การ์โลส ไซนซ์ ยูนิออร์ ถูกบังคับให้ถอนตัวจากการแข่งขันซาอุดีอาระเบียนกรังด์ปรีซ์ หลังจากเขาได้รับการวินิจฉัยว่ามีภาวะไส้ติ่งอักเสบ และจำเป็นต้องเข้ารับการผ่าตัด[46] โอลิเวอร์ แบร์แมน ซึ่งเป็นนักขับสำรองของแฟร์รารี และนักขับจากรายการแข่งขันฟอร์มูลาทู จึงลงแข่งขันแทน โดยเป็นสนามแรกของเขาในการแข่งขันฟอร์มูลาวัน[12] ไซนซ์กลับมาในการแข่งขันถัดมาที่ออสเตรเลียนกรังด์ปรีซ์[47]

ฟรันโก โกลาปินโต นักขับชาวอาร์เจนตินาจากรายการแข่งขันฟอร์มูลาทู เข้ามาแทนที่ โลแกน ซาร์เจนต์ กับวิลเลียมส์ตั้งแต่การแข่งขันอิตาเลียนกรังด์ปรีซ์เป็นต้นมา ซึ่งถือเป็นฤดูกาลแรกของเขาในการแข่งขันฟอร์มูลาวัน[48]

เควิน เมานุสเซิน นักขับของฮาส ได้รับคะแนนโทษสองคะแนนฐานทำให้รถชนกันในการแข่งขันอิตาเลียนกรังด์ปรีซ์ ส่งผลให้เขามีคะแนนโทษสะสมถึงสิบสองคะแนนในระยะเวลาสิบสองเดือน และถูกห้ามไม่ให้เข้าร่วมการแข่งขันถัดไปที่อาเซอร์ไบจานกรังด์ปรีซ์โดยอัตโนมัติ[49] แบร์แมนจึงลงแข่งขันแทน โดยเป็นการลงแข่งขันในฐานะนักขับสำรองครั้งที่สองในฤดูกาล[50] เมานุสเซินกลับมาในการแข่งขันถัดมาที่สิงคโปร์กรังด์ปรีซ์[49]

แดเนียล ริคาร์โด ถูกปลดออกจากตำแหน่งนักขับของอาร์บีก่อนการแข่งขันยูไนเต็ดสเตตส์กรังด์ปรีซ์[51][52] เขาถูกแทนที่โดย เลียม ลอว์สัน นักขับสำรองผู้เคยเข้าร่วมการแข่งขันมาแล้วในฤดูกาล 2023 โดยลงแข่งขันแทนริคาร์โดที่ได้รับบาดเจ็บในทีมเดียวกัน ซึ่งในขณะนั้นยังมีชื่อเป็นอัลฟาทอรี[53]

แบร์แมนลงแข่งขันแทนเมานุสเซินกับฮาสอีกครั้งระหว่างการแข่งขันเซาเปาโลกรังด์ปรีซ์ โดยลงแข่งขันแทนในรอบฝึกซ้อมและรอบสปรินต์ หลังจากเมานุสเซินมีอาการป่วย[54][55][56] หลังจากจบรอบคัดเลือกสปรินต์ ทีมได้ขยายเวลาให้แบร์แมนแข่งขันแทนตลอดช่วงสุดสัปดาห์ที่เหลือของการแข่งขัน[16]

แจ็ก ดูฮาน นักขับสำรองของอาลปีน เข้าร่วมการแข่งขันเป็นฤดูกาลแรกที่อาบูดาบีกรังด์ปรีซ์ โดยเข้ามาแทนที่ แอ็สเตบาน ออกง หลังจากอาลปีนจำเป็นต้องให้ออกงออกจากตำแหน่ง เพื่อให้เขาได้เข้าร่วมรอบทดสอบหลังฤดูกาลกับฮาส[57]

ปฏิทินการแข่งขัน

[แก้]

ปฏิทินการแข่งขันฤดูกาล 2024 มีกำหนดการแข่งขันเป็นสถิติสูงสุด 24 กรังด์ปรีซ์[58] โดยการแข่งขันไชนีส, ไมอามี, ออสเตรียน, ยูไนเต็ดสเตตส์, เซาเปาโล และการ์ตาร์กรังด์ปรีซ์ นำเสนอรูปแบบการแข่งขันแบบสปรินต์[59]

ลำดับ การแข่งขัน สนามแข่งขัน วันแข่งขัน
1 บาห์เรนกรังด์ปรีซ์ บาห์เรน บาห์เรนอินเตอร์เนชันแนลเซอร์กิต เศาะคีร 2 มีนาคม
2 ซาอุดีอาระเบียนกรังด์ปรีซ์ ซาอุดีอาระเบีย ญิดดะฮ์คอร์นิชเซอร์กิต ญิดดะฮ์ 9 มีนาคม
3 ออสเตรเลียนกรังด์ปรีซ์ ออสเตรเลีย อัลเบิร์ตพาร์กเซอร์กิต เมลเบิร์น 24 มีนาคม
4 เจแปนนีสกรังด์ปรีซ์ ญี่ปุ่น ซูซูกะเซอร์กิตอินเตอร์เนชันแนลเรซซิงคอร์ส ซูซูกะ 7 เมษายน
5 ไชนีสกรังด์ปรีซ จีน เซี่ยงไฮ้อินเตอร์เนชันแนลเซอร์กิต เซี่ยงไฮ้ 21 เมษายน
6 ไมอามีกรังด์ปรีซ์ สหรัฐอเมริกา ไมอามีอินเตอร์เนชันแนลออโตโดรม ไมอามีการ์เดนส์ ฟลอริดา 5 พฤษภาคม
7 เอมีเลีย-โรมัญญากรังด์ปรีซ์ อิตาลี อีโมลาเซอร์กิต อีโมลา 19 พฤษภาคม
8 โมนาโกกรังด์ปรีซ์ โมนาโก ซีร์กุยเดอมอนาโก โมนาโก 26 พฤษภาคม
9 แคนาเดียนกรังด์ปรีซ์ แคนาดา ซีร์กุยฌีล-วีลเนิฟว์ มอนทรีออล 9 มิถุนายน
10 สเปนิชกรังด์ปรีซ์ สเปน ซีร์กูอิตดาบาร์ซาโลนา-กาตาลุญญา มอมมาโล 23 มิถุนายน
11 ออสเตรียนกรังด์ปรีซ์ ออสเตรีย เร็ดบุลริง ชปีลแบร์ค 30 มิถุนายน
12 บริติชกรังด์ปรีซ์ สหราชอาณาจักร ซิลเวอร์สโตนเซอร์กิต ซิลเวอร์สโตน 7 กรกฎาคม
13 ฮังกาเรียนกรังด์ปรีซ์ ฮังการี ฮังกาโรริง โมดโยโรด 21 กรกฎาคม
14 เบลเจียนกรังด์ปรีซ์ เบลเยียม ซีร์กุยเดอสปา-ฟร็องกอร์ช็อง สตาฟว์โล 28 กรกฎาคม
15 ดัตช์กรังด์ปรีซ์ เนเธอร์แลนด์ เซียร์กูยต์ซันต์โฟร์ต ซันต์โฟร์ต 25 สิงหาคม
16 อิตาเลียนกรังด์ปรีซ์ อิตาลี มอนซาเซอร์กิต มอนซา 1 กันยายน
17 อาเซอร์ไบจานกรังด์ปรีซ์ อาเซอร์ไบจาน บากูซิตีเซอร์กิต บากู 15 กันยายน
18 สิงคโปร์กรังด์ปรีซ์ สิงคโปร์ มารีนาเบย์สตรีตเซอร์กิต สิงคโปร์ 22 กันยายน
19 ยูไนเต็ดสเตตส์กรังด์ปรีซ์ สหรัฐอเมริกา เซอร์กิตออฟดิอเมริกาส์ ออสติน เท็กซัส 20 ตุลาคม
20 เม็กซิโกซิตีกรังด์ปรีซ์ เม็กซิโก เอาโตโดรโมเอร์มาโนสโรดริเกซ เม็กซิโกซิตี 27 ตุลาคม
21 เซาเปาโลกรังด์ปรีซ์ บราซิล อิงแตร์ลากูสเซอร์กิต เซาเปาลู 3 พฤศจิกายน
22 ลาสเวกัสกรังด์ปรีซ์ สหรัฐอเมริกา ลาสเวกัสสตริปเซอร์กิต พาราไดซ์ เนวาดา 23 พฤศจิกายน
23 กาตาร์กรังด์ปรีซ์ ประเทศกาตาร์ ลูซัยล์อินเตอร์เนชันแนลเซอร์กิต ลูซัยล์ 1 พฤศจิกายน
24 อาบูดาบีกรังด์ปรีซ์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ยาสมารีนาเซอร์กิต อาบูดาบี 8 ธันวาคม
แหล่งที่มา:[58][60]

การขยายและเปลี่ยนแปลงปฏิทินการแข่งขัน

[แก้]

การแข่งขันไชนีสกรังด์ปรีซได้กลับมาจัดการแข่งขันอีกครั้งเป็นครั้งแรกนับตั้งแต่ฤดูกาล 2019 หลังจากถูกยกเลิกติดต่อกันสี่ปีด้วยอุปสรรคจากการระบาดทั่วของโควิด-19 ในประเทศ[58] การแข่งขันเอมีเลีย-โรมัญญากรังด์ปรีซ์ซึ่งถูกยกเลิกในฤดูกาลที่ผ่านมาจากอุทกภัยในพื้นที่ ได้กลับมาจัดการแข่งขันอีกครั้งเช่นเดียวกัน[58] การแข่งขันรัสเซียนกรังด์ปรีซมีการทำสัญญาเพื่อให้จัดการแข่งขันในฤดูกาล 2024[61] อย่างไรก็ตามสัญญาดังกล่าวถูกยกเลิกในฤดูกาล 2022 เพื่อตอบสนองต่อการรุกรานยูเครนโดยรัสเซีย[62]

ผลการแข่งขันและตารางคะแนน

[แก้]

ผลการแข่งขันกรังด์ปรีซ

[แก้]
ลำดับ กรังด์ปรีซ์[e] ตำแหน่งโพล ทำรอบเร็วที่สุด นักชับที่ชนะ ทีมผู้ผลิตที่ชนะ รายงาน
1 Bahrain บาห์เรนกรังด์ปรีซ์ เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน ออสเตรีย เร็ดบุลเรซซิง-ฮอนด้า อาร์บีพีที รายงาน
2 Saudi Arabia ซาอุดีอาระเบียนกรังด์ปรีซ์ เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน โมนาโก ชาร์ล เลอแกลร์ เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน ออสเตรีย เร็ดบุลเรซซิง-ฮอนด้า อาร์บีพีที รายงาน
3 Australia ออสเตรเลียนกรังด์ปรีซ์ เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน โมนาโก ชาร์ล เลอแกลร์ สเปน การ์โลส ไซนซ์ ยูนิออร์ อิตาลี แฟร์รารี รายงาน
4 Japan เจแปนนีสกรังด์ปรีซ์ เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน ออสเตรีย เร็ดบุลเรซซิง-ฮอนด้า อาร์บีพีที รายงาน
5 China ไชนีสกรังด์ปรีซ เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน สเปน เฟร์นันโด อาลอนโซ เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน ออสเตรีย เร็ดบุลเรซซิง-ฮอนด้า อาร์บีพีที รายงาน
6 United States ไมอามีกรังด์ปรีซ์ เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน ออสเตรเลีย ออสการ์ พิแอสทรี สหราชอาณาจักร แลนโด นอร์ริส สหราชอาณาจักร แม็กลาเรน-เมอร์เซเดส รายงาน
7 Italy เอมีเลีย-โรมัญญากรังด์ปรีซ์ เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน สหราชอาณาจักร จอร์จ รัสเซลล์ เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน ออสเตรีย เร็ดบุลเรซซิง-ฮอนด้า อาร์บีพีที รายงาน
8 Monaco โมนาโกกรังด์ปรีซ์ โมนาโก ชาร์ล เลอแกลร์ สหราชอาณาจักร ลูวิส แฮมิลตัน โมนาโก ชาร์ล เลอแกลร์ อิตาลี แฟร์รารี รายงาน
9 Canada แคนาเดียนกรังด์ปรีซ์ สหราชอาณาจักร จอร์จ รัสเซลล์ สหราชอาณาจักร ลูวิส แฮมิลตัน เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน ออสเตรีย เร็ดบุลเรซซิง-ฮอนด้า อาร์บีพีที รายงาน
10 Spain สเปนิชกรังด์ปรีซ์ สหราชอาณาจักร แลนโด นอร์ริส สหราชอาณาจักร แลนโด นอร์ริส เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน ออสเตรีย เร็ดบุลเรซซิง-ฮอนด้า อาร์บีพีที รายงาน
11 Austria ออสเตรียนกรังด์ปรีซ์ เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน สเปน เฟร์นันโด อาลอนโซ สหราชอาณาจักร จอร์จ รัสเซลล์ เยอรมนี เมอร์เซเดส รายงาน
12 United Kingdom บริติชกรังด์ปรีซ์ สหราชอาณาจักร จอร์จ รัสเซลล์ สเปน การ์โลส ไซนซ์ ยูนิออร์ สหราชอาณาจักร ลูวิส แฮมิลตัน เยอรมนี เมอร์เซเดส รายงาน
13 Hungary ฮังกาเรียนกรังด์ปรีซ์ สหราชอาณาจักร แลนโด นอร์ริส สหราชอาณาจักร จอร์จ รัสเซลล์ ออสเตรเลีย ออสการ์ พิแอสทรี สหราชอาณาจักร แม็กลาเรน-เมอร์เซเดส รายงาน
14 Belgium เบลเจียนกรังด์ปรีซ์ โมนาโก ชาร์ล เลอแกลร์[f] เม็กซิโก เซร์ฆิโอ เปเรซ สหราชอาณาจักร ลูวิส แฮมิลตัน[g] เยอรมนี เมอร์เซเดส รายงาน
15 Netherlands ดัตช์กรังด์ปรีซ์ สหราชอาณาจักร แลนโด นอร์ริส สหราชอาณาจักร แลนโด นอร์ริส สหราชอาณาจักร แลนโด นอร์ริส สหราชอาณาจักร แม็กลาเรน-เมอร์เซเดส รายงาน
16 Italy อิตาเลียนกรังด์ปรีซ์ สหราชอาณาจักร แลนโด นอร์ริส สหราชอาณาจักร แลนโด นอร์ริส โมนาโก ชาร์ล เลอแกลร์ อิตาลี แฟร์รารี รายงาน
17 Azerbaijan อาเซอร์ไบจานกรังด์ปรีซ์ โมนาโก ชาร์ล เลอแกลร์ สหราชอาณาจักร แลนโด นอร์ริส ออสเตรเลีย ออสการ์ พิแอสทรี สหราชอาณาจักร แม็กลาเรน-เมอร์เซเดส รายงาน
18 Singapore สิงคโปร์กรังด์ปรีซ์ สหราชอาณาจักร แลนโด นอร์ริส ออสเตรเลีย แดเนียล ริคาร์โด สหราชอาณาจักร แลนโด นอร์ริส สหราชอาณาจักร แม็กลาเรน-เมอร์เซเดส รายงาน
19 United States ยูไนเต็ดสเตตส์กรังด์ปรีซ์ สหราชอาณาจักร แลนโด นอร์ริส ฝรั่งเศส แอ็สเตบาน ออกง โมนาโก ชาร์ล เลอแกลร์ อิตาลี แฟร์รารี รายงาน
20 Mexico เม็กซิโกซิตีกรังด์ปรีซ์ สเปน การ์โลส ไซนซ์ ยูนิออร์ โมนาโก ชาร์ล เลอแกลร์ สเปน การ์โลส ไซนซ์ ยูนิออร์ อิตาลี แฟร์รารี รายงาน
21 Brazil เซาเปาโลกรังด์ปรีซ์ สหราชอาณาจักร แลนโด นอร์ริส เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน ออสเตรีย เร็ดบุลเรซซิง-ฮอนด้า อาร์บีพีที รายงาน
22 United States ลาสเวกัสกรังด์ปรีซ์ สหราชอาณาจักร จอร์จ รัสเซลล์ สหราชอาณาจักร แลนโด นอร์ริส สหราชอาณาจักร จอร์จ รัสเซลล์ เยอรมนี เมอร์เซเดส รายงาน
23 Qatar กาตาร์กรังด์ปรีซ์ สหราชอาณาจักร จอร์จ รัสเซลล์[h] สหราชอาณาจักร แลนโด นอร์ริส เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน ออสเตรีย เร็ดบุลเรซซิง-ฮอนด้า อาร์บีพีที รายงาน
24 United Arab Emirates อาบูดาบีกรังด์ปรีซ์ สหราชอาณาจักร แลนโด นอร์ริส เดนมาร์ก เควิน เมานุสเซิน สหราชอาณาจักร แลนโด นอร์ริส สหราชอาณาจักร แม็กลาเรน-เมอร์เซเดส รายงาน
แหล่งที่มา:[58][69]

ระบบการให้คะแนน

[แก้]

คะแนนจะมอบให้กับนักขับที่ได้รับการจัดอันดับสิบอันดับแรก นักขับที่ทำรอบเร็วที่สุด (ซึ่งนักขับจะต้องอยู่ในสิบอันดับแรกเท่านั้นเพื่อรับคะแนน) และนักขับแปดอันดับแรกในรอบสปรินต์[70][i] ในกรณีที่คะแนนของนักขับเสมอกัน ระบบนับคะแนนถอยหลังจะถูกใช้โดยนักขับที่มีผลการแข่งขันดีที่สุดจะได้รับการจัดอันดับสูงกว่า หากผลลัพธ์ที่ดีที่สุดเหมือนกันจะตัดสินโดยผลลัพธ์ถัดไปที่ดีที่สุดและไล่ต่อไปเรื่อย ๆ จนกว่าจะได้ผู้ชนะ[72] คะแนนจะมอบให้โดยใช้ระบบดังต่อไปนี้:

อับดับ  1   2   3   4   5   6   7   8   9   10  รอบเร็ว
กรังด์ปรีซ์ 25 18 15 12 10 8 6 4 2 1 1
สปรินต์[e] 8 7 6 5 4 3 2 1
แหล่งที่มา:[70]

ตารางคะแนนชิงแชมป์โลกประเภทนักขับ

[แก้]
อันดับ นักขับ BHR
บาห์เรน
SAU
ซาอุดีอาระเบีย
AUS
ออสเตรเลีย
JPN
ญี่ปุ่น
CHN
จีน
MIA
สหรัฐอเมริกา
EMI
อิตาลี
MON
โมนาโก
CAN
แคนาดา
ESP
สเปน
AUT
ออสเตรีย
GBR
สหราชอาณาจักร
HUN
ฮังการี
BEL
เบลเยียม
NED
เนเธอร์แลนด์
ITA
อิตาลี
AZE
อาเซอร์ไบจาน
SIN
สิงคโปร์
USA
สหรัฐอเมริกา
MXC
เม็กซิโก
SAP
บราซิล
LVG
สหรัฐอเมริกา
QAT
ประเทศกาตาร์
ABU
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
คะแนน
1 เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน 1PF 1P RetP 1PF 11 P 21 P 1P 6 1 1 51 P 2 5 4 2 6 5 2 31 6 14 F 5 18 6 437
2 สหราชอาณาจักร แลนโด นอร์ริส 6 8 3 5 26 1 2 4 2 2PF 203 3 2P 5 1PF 3PF 4F 1P 43 P 2 61 P 6F 102 F 1P 374
3 โมนาโก ชาร์ล เลอแกลร์ 4 3F 2F 4 44 32 3 1P Ret 5 117 14 4 3P 3 1 2P 5 14 3F 53 4 25 3 356
4 ออสเตรเลีย ออสการ์ พิแอสทรี 8 4 4 8 87 136 F 4 2 5 7 22 4 1 2 4 2 1 3 5 8 82 7 31 10 292
5 สเปน การ์โลส ไซนซ์ ยูนิออร์ 3 WD 1 3 55 55 5 3 Ret 6 35 5F 6 6 5 4 18† 7 22 1P Ret5 3 64 2 290
6 สหราชอาณาจักร จอร์จ รัสเซล 5 6 17† 7 68 8 7F 5 3P 4 14 RetP 8F DSQ 7 7 3 4 65 5 46 1P 43 P 5 245
7 สหราชอาณาจักร ลูวิส แฮมิลตัน 7 9 Ret 9 92 6 6 7F 4F 3 46 1 3 1 8 5 9 6 Ret6 4 10 2 126 4 223
8 เม็กซิโก เซร์ฆิโอ เปเรซ 2 2 5 2 33 43 8 Ret Ret 8 78 17 7 7F 6 8 17† 10 7 17 118 10 Ret Ret 152
9 สเปน เฟร์นันโด อาลอนโซ 9 5 8 6 7F 9 19 11 6 12 18F 8 11 8 10 11 6 8 13 Ret 14 11 7 9 70
10 ฝรั่งเศส ปีแยร์ กัสลี 18 Ret 13 16 13 12 16 10 9 9 10 DNS Ret 13 9 15 12 17 12 10 37 Ret 5 7 42
11 เยอรมนี นีโค ฮึลเคินแบร์ค 16 10 9 11 10 117 11 Ret 11 11 6 6 13 18 11 17 11 9 88 9 DSQ 8 Ret7 8 41
12 ญี่ปุ่น ยูกิ สึโนดะ 14 15 7 10 Ret 78 10 8 14 19 14 10 9 16 17 Ret Ret 12 14 Ret 7 9 13 12 30
13 แคนาดา แลนซ์ สโตรล 10 Ret 6 12 15 17 9 14 7 14 13 7 10 11 13 19 19† 14 15 11 DNS 15 Ret 14 24
14 ฝรั่งเศส แอ็สเตบาน ออกง 17 13 16 15 11 10 14 Ret 10 10 12 16 18 9 15 14 15 13 18F 13 2 17 Ret 23
15 เดนมาร์ก เควิน เมานุสเซิน 12 12 10 13 16 19 12 Ret 12 17 8 12 15 14 18 10 19† 117 7 WD 12 9 16F 16
16 ไทย อเล็กซานเดอร์ อัลบอน 15 11 11 Ret 12 18 Ret 9 Ret 18 15 9 14 12 14 9 7 Ret 16 Ret DNS Ret 15 11 12
17 ออสเตรเลีย แดเนียล ริคาร์โด 13 16 12 Ret Ret 154 13 12 8 15 9 13 12 10 12 13 13 18F 12
18 สหราชอาณาจักร โอลิเวอร์ แบร์แมน 7 10 12 7
19 อาร์เจนตินา ฟรันโก โกลาปินโต 12 8 11 10 12 Ret 14 Ret Ret 5
20 จีน โจว กว้านยฺหวี่ 11 18 15 Ret 14 14 15 16 15 13 17 18 19 Ret 20 18 14 15 19 15 15 13 8 13 4
21 นิวซีแลนด์ เลียม ลอว์สัน 9 16 9 16 14 17† 4
22 ฟินแลนด์ วัลต์เตรี โบตตัส 19 17 14 14 Ret 16 18 13 13 16 16 15 16 15 19 16 16 16 17 14 13 18 11 Ret 0
23 สหรัฐอเมริกา โลแกน ซาร์เจนต์ 20 14 WD 17 17 Ret 17 15 Ret 20 19 11 17 17 16 0
24 ออสเตรเลีย แจ็ก ดูฮาน 15 0
อันดับ นักขับ BHR
บาห์เรน
SAU
ซาอุดีอาระเบีย
AUS
ออสเตรเลีย
JPN
ญี่ปุ่น
CHN
จีน
MIA
สหรัฐอเมริกา
EMI
อิตาลี
MON
โมนาโก
CAN
แคนาดา
ESP
สเปน
AUT
ออสเตรีย
GBR
สหราชอาณาจักร
HUN
ฮังการี
BEL
เบลเยียม
NED
เนเธอร์แลนด์
ITA
อิตาลี
AZE
อาเซอร์ไบจาน
SIN
สิงคโปร์
USA
สหรัฐอเมริกา
MXC
เม็กซิโก
SAP
บราซิล
LVG
สหรัฐอเมริกา
QAT
ประเทศกาตาร์
ABU
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
คะแนน
แหล่งที่มา:[69][73][74][75][76][77]
คำสำคัญ
สี ผล
ทอง ชนะเลิศ
เงิน อันดับ 2
ทองแดง อันดับ 3
เขียว อันดับอื่นที่ได้คะแนน
ฟ้า อันดับอื่นที่ไม่ได้คะแนน
ไม่ถูกจัดอันดับ แต่จบการแข่งขัน (NC)
ม่วง ไม่ถูกจัดอันดับ เพราะถอนตัวระหว่างแข่งขัน (Ret)
แดง ไม่ผ่านเข้ารอบคัดเลือก (DNQ)
ไม่ได้เข้าร่วมรอบก่อนคัดเลือก (DNPQ)
ดำ ถูกตัดสิทธิ์ (DSQ)
ขาว ไม่ได้ออกตัว (DNS)
การแข่งขันถูกยกเลิก (C)
ว่าง ไม่ได้เข้าร่วมรอบฝึกซ้อม (DNP)
ได้รับการยกเว้น (EX)
ไม่ได้เข้าร่วมงาน (DNA)
ถอนตัว (WD)
ตัวย่อ หมายถึง
ตัวยก อันดับที่ได้คะแนนในการแข่งขันรอบสปรินต์
P ตำแหน่งโพล
F ทำรอบเร็วที่สุด
หมายเหตุ
  • † นักขับที่ไม่จบการแข่งขันแต่ถูกจัดอันดับ เนื่องจากแข่งขันมากกว่าร้อยละ 90 ของระยะทางการแข่งขัน

ตารางคะแนนชิงแชมป์โลกประเภทผู้ผลิต

[แก้]
อันดับ ผู้ผลิต BHR
บาห์เรน
SAU
ซาอุดีอาระเบีย
AUS
ออสเตรเลีย
JPN
ญี่ปุ่น
CHN
จีน
MIA
สหรัฐอเมริกา
EMI
อิตาลี
MON
โมนาโก
CAN
แคนาดา
ESP
สเปน
AUT
ออสเตรีย
GBR
สหราชอาณาจักร
HUN
ฮังการี
BEL
เบลเยียม
NED
เนเธอร์แลนด์
ITA
อิตาลี
AZE
อาเซอร์ไบจาน
SIN
สิงคโปร์
USA
สหรัฐอเมริกา
MXC
เม็กซิโก
SAP
บราซิล
LVG
สหรัฐอเมริกา
QAT
ประเทศกาตาร์
ABU
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
คะแนน
1 สหราชอาณาจักร แม็กลาเรน-เมอร์เซเดส 6 4 3 5 26 1 2 2 2 2PF 22 3 1 2 1PF 2 1 1P 43 P 2 61 P 6F 31 1P 666
8 8 4 8 87 136 F 4 4 5 7 203 4 2P 5 4 3PF 4F 3 5 8 82 7 102 F 10
2 อิตาลี แฟร์รารี 3 3F 1 3 44 32 3 1P Ret 5 35 5F 4 3P 3 1 2P 5 14 1P 53 3 25 2 652
4 7 2F 4 55 55 5 3 Ret 6 117 14 6 6 5 4 18† 7 22 3F Ret5 4 64 3
3 ออสเตรีย เร็ดบุลเรซซิง-ฮอนด้า อาร์บีพีที 1PF 1P 5 1PF 11 P 21 P 1P 6 1 1 51 P 2 5 4 2 6 5 2 31 6 14 F 5 18 6 589
2 2 RetP 2 33 43 8 Ret Ret 8 78 17 7 7F 6 8 17† 10 7 17 118 10 Ret Ret
4 เยอรมนี เมอร์เซเดส 5 6 17† 7 68 6 6 5 3P 3 14 1 3 1 7 5 3 4 65 4 46 1P 43 P 4 468
7 9 Ret 9 92 8 7F 7F 4F 4 46 RetP 8F DSQ 8 7 9 6 Ret6 5 10 2 126 5
5 สหราชอาณาจักร แอสตันมาร์ติน อะแรมโค-เมอร์เซเดส 9 5 6 6 7F 9 9 11 6 12 13 7 10 8 10 11 6 8 13 11 14 11 7 9 94
10 Ret 8 12 15 17 19 14 7 14 18F 8 11 11 13 19 19† 14 15 Ret DNS 15 Ret 14
6 ฝรั่งเศส อาลปีน-เรอโนลต์ 17 13 13 15 11 10 14 10 9 9 10 16 18 9 9 14 12 13 12 10 2 17 5 7 65
18 Ret 16 16 13 12 16 Ret 10 10 12 DNS Ret 13 15 15 15 17 18F 13 37 Ret Ret 15
7 สหรัฐอเมริกา ฮาส-แฟร์รารี 12 10 9 11 10 117 11 Ret 11 11 6 6 13 14 11 10 10 9 88 7 12 8 9 8 58
16 12 10 13 16 19 12 Ret 12 17 8 12 15 18 18 17 11 19† 117 9 DSQ 12 Ret7 16F
8 อิตาลี อาร์บี-ฮอนด้า อาร์บีพีที 13 15 7 10 Ret 78 10 8 8 15 9 10 9 10 12 13 13 12 9 16 7 9 13 12 46
14 16 12 Ret Ret 154 13 12 14 19 14 13 12 16 17 Ret Ret 18F 14 Ret 9 16 14 17†
9 สหราชอาณาจักร วิลเลียมส์-เมอร์เซเดส 15 11 11 17 12 18 17 9 Ret 18 15 9 14 12 14 9 7 11 10 12 Ret 14 15 11 17
20 14 WD Ret 17 Ret Ret 15 Ret 20 19 11 17 17 16 12 8 Ret 16 Ret DNS Ret Ret Ret
10 สวิตเซอร์แลนด์ คิก เซาเบอร์-แฟร์รารี 11 17 14 14 14 14 15 13 13 13 16 15 16 15 19 16 14 15 17 14 13 13 8 13 4
19 18 15 Ret Ret 16 18 16 15 16 17 18 19 Ret 20 18 16 16 19 15 15 18 11 Ret
อันดับ นักขับ BHR
บาห์เรน
SAU
ซาอุดีอาระเบีย
AUS
ออสเตรเลีย
JPN
ญี่ปุ่น
CHN
จีน
MIA
สหรัฐอเมริกา
EMI
อิตาลี
MON
โมนาโก
CAN
แคนาดา
ESP
สเปน
AUT
ออสเตรีย
GBR
สหราชอาณาจักร
HUN
ฮังการี
BEL
เบลเยียม
NED
เนเธอร์แลนด์
ITA
อิตาลี
AZE
อาเซอร์ไบจาน
SIN
สิงคโปร์
USA
สหรัฐอเมริกา
MXC
เม็กซิโก
SAP
บราซิล
LVG
สหรัฐอเมริกา
QAT
ประเทศกาตาร์
ABU
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
คะแนน
แหล่งที่มา:[69][73][74][75][76][77]
คำสำคัญ
สี ผล
ทอง ชนะเลิศ
เงิน อันดับ 2
ทองแดง อันดับ 3
เขียว อันดับอื่นที่ได้คะแนน
ฟ้า อันดับอื่นที่ไม่ได้คะแนน
ไม่ถูกจัดอันดับ แต่จบการแข่งขัน (NC)
ม่วง ไม่ถูกจัดอันดับ เพราะถอนตัวระหว่างแข่งขัน (Ret)
แดง ไม่ผ่านเข้ารอบคัดเลือก (DNQ)
ไม่ได้เข้าร่วมรอบก่อนคัดเลือก (DNPQ)
ดำ ถูกตัดสิทธิ์ (DSQ)
ขาว ไม่ได้ออกตัว (DNS)
การแข่งขันถูกยกเลิก (C)
ว่าง ไม่ได้เข้าร่วมรอบฝึกซ้อม (DNP)
ได้รับการยกเว้น (EX)
ไม่ได้เข้าร่วมงาน (DNA)
ถอนตัว (WD)
ตัวย่อ หมายถึง
ตัวยก อันดับที่ได้คะแนนในการแข่งขันรอบสปรินต์
P ตำแหน่งโพล
F ทำรอบเร็วที่สุด
หมายเหตุ
  • † นักขับที่ไม่จบการแข่งขันแต่ถูกจัดอันดับ เนื่องจากแข่งขันมากกว่าร้อยละ 90 ของระยะทางการแข่งขัน
  • แถวในตารางไม่เกี่ยวข้องกับนักขับคนใดคนหนึ่ง แต่เป็นอันดับการแข่งขันกรังด์ปรีซ์ของแต่ละผู้ผลิต ซึ่งจัดเรียงตามการจัดอันดับอันเป็นที่สิ้นสุดของแต่ละการแข่งขันเท่านั้น (ไม่ใช่คะแนนสะสมรวมที่ทำได้ในแต่ละการแข่งขัน ซึ่งรวมถึงคะแนนจากการทำรอบเร็วที่สุดและคะแนนจากรอบสปรินต์)

หมายเหตุ

[แก้]
  1. การ์โลส ไซนซ์ ยูนิออร์ เข้าร่วมการแข่งขันซาอุดีอาระเบียนกรังด์ปรีซ์ แต่ถอนตัวในภายหลังเนื่องจากได้รับการวินิจฉัยว่ามีภาวะไส้ติ่งอักเสบ[12]
  2. เควิน เมานุสเซิน เข้าร่วมการแข่งขันเซาเปาโลกรังด์ปรีซ์ แต่ถอนตัวในภายหลังเนื่องจากอาการป่วย[16]
  3. เซาเบอร์ได้รับการสนับสนุนจากสเตก ซึ่งผู้ก่อตั้งร่วมเป็นผู้สนับสนุนของคิกด้วย[18] โดยเซาเบอร์เข้าร่วมในการแข่งขันรอบที่ 3, 10, 14, และ 23–24 ภายใต้ชื่อ "คิก เซาเบอร์ เอฟวันทีม"[19]
  4. โลแกน ซาร์เจนต์ เข้าร่วมการแข่งขันออสเตรเลียนกรังด์ปรีซ์ แต่ถอนตัวในภายหลังเพื่อนำรถของเขาให้ อเล็กซานเดอร์ อัลบอน ใช้ลงแข่งขันแทน เนื่องจากรถคันเดิมเกิดการชนจนได้รับความเสียหายอย่างรุนแรง[34]
  5. 5.0 5.1 การแข่งขันไชนีส, ไมอามี, ออสเตรียน, ยูไนเต็ดสเตตส์, เซาเปาโล และการ์ตาร์กรังด์ปรีซ์ นำเสนอรูปแบบการแข่งขันแบบสปรินต์[59]
  6. มักซ์ แฟร์สตัปเปิน ทำรอบเร็วที่สุดในรอบคัดเลือก แต่ได้รับโทษปรับกริดออกตัวสิบอันดับฐานติดตั้งส่วนประกอบเครื่องยนต์สันดาปภายในของเขาเกินกว่าจำนวนที่กำหนดไว้[63] ชาร์ล เลอแกลร์ จึงเลื่อนขึ้นมาอยู่ในตำแหน่งโพลแทนที่เขา[64]
  7. จอร์จ รัสเซลล์ เข้าเส้นชัยเป็นคนแรก แต่ถูกตัดสิทธิ์ในภายหลังเนื่องจากน้ำหนักรถของเขาต่ำกว่าเกณฑ์[65] ลูวิส แฮมิลตัน ซึ่งถูกจัดอันดับให้อยู่อันดับที่สองในตอนแรก จึงได้รับชัยชนะแทน[66]
  8. มักซ์ แฟร์สตัปเปิน ทำเวลาได้เร็วที่สุดในรอบคัดเลือก แต่ได้รับโทษปรับกริดออกตัวหนึ่งอันดับฐานขับรถช้าโดยไม่จำเป็น[67] จอร์จ รัสเซลล์ จึงเลื่อนขึ้นมาอยู่ในตำแหน่งโพลแทนที่เขา[68]
  9. ในกรณีที่การแข่งขันสิ้นสุดลงก่อนกำหนด จำนวนคะแนนที่มอบให้กับแต่ละอันดับอาจลดลง ขึ้นอยู่กับว่าการแข่งขันนั้นดำเนินการไปมากน้อยเพียงใด[71]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Verstappen crowned champion as Russell heads Mercedes 1–2 in Las Vegas". Formula One. 24 November 2024. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 1 December 2024. สืบค้นเมื่อ 24 November 2024.
  2. "Verstappen dominates for Japanese GP victory as Red Bull secure back-to-back constructors' titles". Formula One. 24 September 2023. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 October 2023. สืบค้นเมื่อ 24 September 2023.
  3. "Norris sails to victory ahead of Sainz and Leclerc in Abu Dhabi as McLaren seal constructors' championship". Formula One. 8 December 2024. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 December 2024. สืบค้นเมื่อ 8 December 2024.
  4. Boin, Adriano (5 March 2021). "Pirelli to remain F1 tyre provider until 2024". RacingNews365. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 April 2021. สืบค้นเมื่อ 9 August 2022.
  5. 5.0 5.1 "2024 Formula One Sporting Regulations – Issue 7" (PDF). Fédération Internationale de l'Automobile. 31 July 2024. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 1 August 2024. สืบค้นเมื่อ 2 August 2024.
  6. "First Look: Alpine reveal 'aggressive' new A524 car for 2024 season". Formula One. 7 February 2024. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 February 2024. สืบค้นเมื่อ 12 February 2024.
  7. 7.0 7.1 7.2 Bradley, Charles (23 February 2024). "F1 testing results: Full 2024 Bahrain pre-season lap times". Motorsport Network. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 February 2024. สืบค้นเมื่อ 27 February 2024.
  8. "First Look: Aston Martin present their AMR24 to the world ahead of 2024 season". Formula One. 12 February 2024. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 February 2024. สืบค้นเมื่อ 12 February 2024.
  9. "AMR24". Aston Martin Aramco Formula One Team. AMR GP Limited. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 February 2024. สืบค้นเมื่อ 27 February 2024.
  10. "First Look: Ferrari unveil new SF-24 car ahead of the 2024 season". Formula One. 13 February 2024. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 February 2024. สืบค้นเมื่อ 13 February 2024.
  11. "SF-24, the New Ferrari Single-Seater". Ferrari. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 1 March 2024. สืบค้นเมื่อ 27 February 2024.
  12. 12.0 12.1 Cooper, Sam (8 March 2024). "Breaking: Carlos Sainz out of Saudi Arabian GP weekend". PlanetF1. Planet Sport. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 April 2024. สืบค้นเมื่อ 8 March 2024.
  13. "First Look: Haas showcase new look for 2024 challenger as livery is revealed". Formula One. 2 February 2024. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 February 2024. สืบค้นเมื่อ 12 February 2024.
  14. "Haas to stick with Ferrari amid engine crisis". GrandPrix.com. Inside F1. 30 August 2020. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 30 August 2020. สืบค้นเมื่อ 30 August 2020.
  15. "VF-24 Technical details". Haas F1 Team. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 February 2024. สืบค้นเมื่อ 19 February 2024.
  16. 16.0 16.1 "Magnussen out for Brazilian GP, Bearman gets full race weekend". Autosport. Motorsport Network. 1 November 2024. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 9 November 2024. สืบค้นเมื่อ 1 November 2024.
  17. 17.0 17.1 Cooper, Adam (1 January 2024). "Renamed Stake F1 team reveals new logo". Motorsport Network. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 1 January 2024. สืบค้นเมื่อ 2 January 2024.
  18. "Sauber to run under Stake F1 Team name in 2024–25". Motorsport Network. 15 December 2023. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 December 2023. สืบค้นเมื่อ 18 March 2024.
  19. 19.0 19.1 19.2 รายชื่อผู้เข้าแข่งขันอย่างเป็นทางการ:
  20. "First Look: Kick Sauber show off dazzling livery with a 'slew of changes' to new 2024 car". Formula One. 5 February 2024. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 February 2024. สืบค้นเมื่อ 12 February 2024.
  21. "First Look: McLaren present new F1 car ahead of Silverstone shakedown". Formula One. 14 February 2024. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 14 February 2024. สืบค้นเมื่อ 14 February 2024.
  22. Cooper, Adam (28 September 2019). "McLaren's deal to use Mercedes F1 engines again from 2021 announced". Autosport. Motorsport Network. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 June 2021. สืบค้นเมื่อ 17 September 2022.
  23. "First Look: Mercedes unveil their 2024 F1 car ahead of Silverstone shakedown". Formula One. 14 February 2024. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 14 February 2024. สืบค้นเมื่อ 14 February 2024.
  24. "F1 W15 E Performance". Mercedes-AMG Petronas F1 Team. Mercedes-Benz Grand Prix. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 February 2024. สืบค้นเมื่อ 27 February 2024.
  25. 25.0 25.1 "AlphaTauri's new name for 2024 is confirmed". Formula One. 24 January 2024. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 January 2024. สืบค้นเมื่อ 24 January 2024.
  26. "Introducing the VCARB 01 – Entering Our New Era". Visa Cash App RB Formula One Team. Racing Bulls. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 February 2024. สืบค้นเมื่อ 9 February 2024.
  27. "VCARB 01". Visa Cash App RB Formula One Team. Racing Bulls. 29 January 2024. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 February 2024. สืบค้นเมื่อ 27 February 2024.
  28. 28.0 28.1 "Red Bull agree deal to run Honda engine technology until 2025". Formula One. 15 February 2021. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 February 2021. สืบค้นเมื่อ 15 February 2021.
  29. 29.0 29.1 Smith, Luke (3 July 2021). "Honda's Sakura facility will supply Red Bull F1 engines in 2022". Autosport. Motorsport Network. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 October 2021. สืบค้นเมื่อ 18 July 2021.
  30. "First Look: Red Bull unveil their new RB20 car ahead of the 2024 season". Formula One. 15 February 2024. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 February 2024. สืบค้นเมื่อ 15 February 2024.
  31. "Oracle Red Bull Racing 20th Season Launch". Red Bull Racing. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 February 2024. สืบค้นเมื่อ 27 February 2024.
  32. "First Look: Williams present new livery for 2024 F1 season as launch season gathers pace". Formula 1. 5 February 2024. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 February 2024. สืบค้นเมื่อ 12 February 2024.
  33. "Williams Mercedes FW45 Technical Specification". Williams Racing. สืบค้นเมื่อ 27 February 2024.
  34. "Albon to take over Sargeant's car for remainder of Australia GP weekend after FP1 shunt". Formula One. 22 March 2024. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 March 2024. สืบค้นเมื่อ 22 March 2024.
  35. "2024 FIA Formula One World Championship – Entry List". Fédération Internationale de l'Automobile. 14 October 2024. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 January 2024. สืบค้นเมื่อ 14 October 2024.
  36. Maher, Thomas (22 October 2024). "Revealed: The junior driver replacement plans for every F1 team". PlanetF1. Planet Sport. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 December 2024. สืบค้นเมื่อ 13 November 2024.
  37. "2024 Mexico City Grand Prix – P1 Classification" (PDF). Fédération Internationale de l'Automobile. 25 October 2024. สืบค้นเมื่อ 5 December 2024.
  38. Wood, Will (26 August 2022). "Alfa Romeo to split from Sauber after 2023 season amid Audi deal rumours". RaceFans. Collantine Media. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 29 May 2023. สืบค้นเมื่อ 29 May 2023.
  39. "Sauber to become Audi works F1 team from 2026". Formula One. 26 October 2022. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 January 2023. สืบค้นเมื่อ 5 July 2023.
  40. "Press Release: Take over the Grid: unveiling Stake F1 Team". Sauber Group. 1 January 2024. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 1 January 2024. สืบค้นเมื่อ 1 January 2024.
  41. Kew, Matt (28 June 2023). "AlphaTauri to be rebranded in F1 2024, says Marko". Motorsport Network. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 July 2023. สืบค้นเมื่อ 5 July 2023.
  42. Mitchell-Malm, Scott (29 June 2023). "Red Bull plans AlphaTauri name change and UK F1 campus share". The Race. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 October 2023. สืบค้นเมื่อ 7 October 2023.
  43. "Breaking: Ricciardo to replace De Vries at AlphaTauri from the Hungarian Grand Prix". Formula One. 11 July 2023. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 July 2023. สืบค้นเมื่อ 11 July 2023.
  44. "Williams retain Sargeant for 2024 season". Formula One. 1 December 2023. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 December 2023. สืบค้นเมื่อ 1 December 2023.
  45. Benson, Andrew (15 December 2023). "Sauber returns to original name for 2024 Formula 1 season". BBC Sport. BBC. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 December 2023. สืบค้นเมื่อ 15 December 2023.
  46. "Sainz ruled out in Jeddah as F2 racer Bearman steps in". Formula One. 6 April 2024. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 April 2024. สืบค้นเมื่อ 6 April 2024.
  47. Bell, Stewart (24 March 2024). "Carlos Sainz wins F1 Australian GP after early exit for Verstappen with engine fire". AP News. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 March 2024. สืบค้นเมื่อ 25 March 2024.
  48. "Williams drops Sargeant in favour of young driver Colapinto". Autosport. Motorsport Network. 27 August 2024. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 September 2024. สืบค้นเมื่อ 27 August 2024.
  49. 49.0 49.1 Coleman, Madeline (1 September 2024). "Kevin Magnussen receives F1 race ban after Italian GP for meeting penalty point limit". The Athletic. The New York Times. ISSN 1553-8095. OCLC 1645522. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 September 2024. สืบค้นเมื่อ 1 September 2024.
  50. "Bearman to replace banned Magnussen at Haas for Azerbaijan Grand Prix". Formula One. 6 September 2024. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 September 2024. สืบค้นเมื่อ 6 September 2024.
  51. "Ricciardo to leave RB with immediate effect as team get set for mid-season driver". Formula One. 26 September 2024. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 September 2024. สืบค้นเมื่อ 26 September 2024.
  52. Cleeren, Filip; Nimmervoll, Christian (27 September 2024). "Marko: Ricciardo lost 'killer instinct' after leaving Red Bull". Motorsport Network. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 September 2024. สืบค้นเมื่อ 27 September 2024.
  53. "Lawson to replace Ricciardo at RB for remainder of the season". Formula One. 26 September 2024. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 September 2024. สืบค้นเมื่อ 26 September 2024.
  54. "Bearman to replace unwell Magnussen at Haas for Sao Paulo GP Friday running". Formula One. 1 November 2024. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 November 2024. สืบค้นเมื่อ 1 November 2024.
  55. Walsh, Fergal (1 November 2024). "Bearman handed Brazil F1 outing as Magnussen sidelined". RacingNews365. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 9 November 2024. สืบค้นเมื่อ 1 November 2024.
  56. "Magnussen to miss Brazil sprint; Bearman steps in". Motorsport Network. 1 November 2024. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 November 2024. สืบค้นเมื่อ 1 November 2024.
  57. "Alpine confirm Doohan to race in Abu Dhabi as Ocon is released". Formula One. 2 December 2024. สืบค้นเมื่อ 2 December 2024.
  58. 58.0 58.1 58.2 58.3 58.4 "F1 2024 calendar revealed: Saturday night Grands Prix in Bahrain and Saudi Arabia to kick off record 24-race season". Sky Sports. Sky UK. 5 July 2023. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 July 2023. สืบค้นเมื่อ 5 July 2023.
  59. 59.0 59.1 "Formula 1 announces 2024 Sprint Calendar". Formula One. 5 December 2023. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 December 2023. สืบค้นเมื่อ 5 December 2023.
  60. Jackson, Kieran (26 February 2024). "F1 2024 schedule: How many races are there this season?". The Independent. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 February 2024. สืบค้นเมื่อ 27 February 2024.
  61. Saunders, Nate (28 February 2017). "Russian Grand Prix extends F1 deal until 2025". ESPN. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 February 2024. สืบค้นเมื่อ 3 February 2024.
  62. Benson, Andrew (3 March 2022). "Formula 1 terminates contract with Russian Grand Prix". BBC Sport. BBC. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 May 2022. สืบค้นเมื่อ 3 March 2022.
  63. "Verstappen and Tsunoda hit with grid penalties at Belgian GP after engine changes". Formula One. 26 July 2024. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 July 2024. สืบค้นเมื่อ 26 July 2024.
  64. "Verstappen claims P1 in Belgium qualifying ahead of grid penalty as he heads Leclerc and Perez". Formula One. 27 July 2024. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 August 2024. สืบค้นเมื่อ 27 July 2024.
  65. "Russell disqualified from Belgian Grand Prix for underweight car as Hamilton is promoted to winner". Formula One. 28 July 2024. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 July 2024. สืบค้นเมื่อ 28 July 2024.
  66. "Hamilton wins thrilling Belgian Grand Prix with team mate Russell disqualified". Formula One. 28 July 2024. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 July 2024. สืบค้นเมื่อ 28 July 2024.
  67. "Verstappen hit with one-place grid penalty for Russell incident during qualifying for Qatar GP". Formula One. 30 November 2024. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 December 2024. สืบค้นเมื่อ 30 November 2024.
  68. "Russell promoted to pole after Verstappen had taken surprise P1 in Qatar by just 0.055s". Formula One. 30 November 2024. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 December 2024. สืบค้นเมื่อ 30 November 2024.
  69. 69.0 69.1 69.2 "FIA Formula One World Championship Results 2024". Motorsport Stats. Motorsport Network. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 December 2024. สืบค้นเมื่อ 8 December 2024.
  70. 70.0 70.1 "The beginner's guide to the F1 weekend". Formula One. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 March 2024. สืบค้นเมื่อ 29 February 2024.
  71. Cooper, Sam (23 February 2023). "Wet races, half points and a new fan engagement activity – the FIA rule changes analysed". PlanetF1. Planet Sport. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 March 2023. สืบค้นเมื่อ 25 March 2023.
  72. "The beginner's guide to the F1 Drivers' Championship". Formula One. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 29 February 2024. สืบค้นเมื่อ 29 February 2024.
  73. 73.0 73.1 Holter, Felix; Bacquelaine, Loïc; Warwick, Dereck; Al Hashmi, Mohammed (8 December 2024). "2024 Abu Dhabi Grand Prix – Championship Points" (PDF). Fédération Internationale de l'Automobile. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 8 December 2024. สืบค้นเมื่อ 8 December 2024.
  74. 74.0 74.1 รายงานผลการแข่งขันรอบสปรินต์อย่างเป็นทางการ:
  75. 75.0 75.1 Shetty, Nish; Perini, Matteo; Liuzzi, Vitantonio; Alabdali, Hassan (8 March 2024). "2024 Saudi Arabian Grand Prix – Decision – Driver change Scuderia Ferrari" (PDF). Fédération Internationale de l'Automobile. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 20 April 2024. สืบค้นเมื่อ 13 September 2024.
  76. 76.0 76.1 Mayer, Tim; Perini, Matteo; Herbert, Johnny; Selley, Matthew (23 March 2024). "2024 Australian Grand Prix – Information – Car 23" (PDF). Fédération Internationale de l'Automobile. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 25 March 2024. สืบค้นเมื่อ 13 September 2024.
  77. 77.0 77.1 Connelly, Garry; Selley, Matthew; Bernoldi, Enrique; Watson, Ian (7 July 2024). "2024 British Grand Prix – Final Race Classification" (PDF). Fédération Internationale de l'Automobile. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 1 September 2024. สืบค้นเมื่อ 13 September 2024.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]