ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระยาประชากรกิจวิจารณ์ (โอ อมาตยกุล)"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Armonthap (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ศรีคำ002 (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 22: บรรทัด 22:


== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ==
== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ==
{{ท.ช.|2465}}<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2465/D/3130.PDF พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์], เล่ม ๓๙ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๓๑๓๐, ๒๘ มกราคม ๒๔๖๕</ref>
* {{ท.ม.|2463}}<ref> [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2463/D/3618.PDF พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ (หน้า ๓๖๑๙)] </ref>
* {{ท.ม.|2463}}<ref> [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2463/D/3618.PDF พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ (หน้า ๓๖๑๙)] </ref>



รุ่นแก้ไขเมื่อ 18:33, 3 มีนาคม 2565

พระยาประชากรกิจวิจารณ์
(โอ อมาตยกุล)
ข้อมูลส่วนบุคคล
เสียชีวิตกรกฎาคม พ.ศ. 2484
ศาสนาพุทธ

มหาอำมาตย์ตรี พระยาประชากรกิจวิจารณ์ (โอ อมาตยกุล) เป็นบุตรของพระยาเพ็ชรพิไชย (เจิม อมาตยกุล) มีพี่น้องร่วมบิดา 20 คน

ผลงาน

พระยาประชากรกิจวิจารณ์ (โอ อมาตยกุล) เป็นรองแม่ทัพสร้างพระที่นั่งอนันตสมาคม หลังการก่อสร้างแล้วเสร็จ ท่านได้รับพระราชทานกระดุมข้อมือทองคำมีพระบรมนามาภิไธยย่อฝังเพชรกับซองบุหรี่เงินมีพระบรมนามาภิไธยเต็มและพระมหามงกุฏลงยาในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ในงานฉลองพระราชมณเฑียร วันที่ ๗ มกราคม พ.ศ. ๒๔๕๙ พร้อมกับนายกอลโล

ยศ

  • อำมาตย์เอก
  • 2 มีนาคม พ.ศ. 2458 มหาอำมาตย์ตรี[1]

ตำแหน่ง

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

อ้างอิง