ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การปฏิวัติรัสเซีย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
เท่
บรรทัด 4: บรรทัด 4:
การปฏิวัติรัสเซียเริ่มต้นขึ้นด้วย[[การปฏิวัติเดือนกุมภาพันธ์]] การปฏิวัติครั้งแรกมุ่งเน้นไปที่ภายในเมืองหลวงเปโตรกราด{{efn|ในปัจจุบันคือ[[เซนต์ปีเตอส์เบิร์ก]]}} และบริเวณโดยรอบ ภายหลังเกิดการสูญเสียทางทหารครั้งใหญ่ระหว่างช่วงสงคราม ซึ่งทำให้[[Russian Ground Forces|กองทัพบกรัสเซีย]]ได้เปลี่ยนสภาพกลับไปเป็นการก่อกบฎ [[รัฐสภา]]รัสเซีย (หรือที่เรียกว่า[[Duma|ดูมา]]) จึงได้ทำการตอบโต้ด้วยการเข้าควบคุมประเทศ และจัดตั้ง[[Russian Provisional Government|รัฐบาลเฉพาะกาลรัสเซีย]]ต่อไป รัฐบาลเฉพาะกาลรัสเซียถูกครอบงำไปด้วยผลประโยชน์ของนายทุนอันโดดเด่น เช่นเดียวกับขุนนางและชนชั้นสูงของรัสเซียโดยมีโอมเป็นผู้ปกครองผู้บ้ากาม
การปฏิวัติรัสเซียเริ่มต้นขึ้นด้วย[[การปฏิวัติเดือนกุมภาพันธ์]] การปฏิวัติครั้งแรกมุ่งเน้นไปที่ภายในเมืองหลวงเปโตรกราด{{efn|ในปัจจุบันคือ[[เซนต์ปีเตอส์เบิร์ก]]}} และบริเวณโดยรอบ ภายหลังเกิดการสูญเสียทางทหารครั้งใหญ่ระหว่างช่วงสงคราม ซึ่งทำให้[[Russian Ground Forces|กองทัพบกรัสเซีย]]ได้เปลี่ยนสภาพกลับไปเป็นการก่อกบฎ [[รัฐสภา]]รัสเซีย (หรือที่เรียกว่า[[Duma|ดูมา]]) จึงได้ทำการตอบโต้ด้วยการเข้าควบคุมประเทศ และจัดตั้ง[[Russian Provisional Government|รัฐบาลเฉพาะกาลรัสเซีย]]ต่อไป รัฐบาลเฉพาะกาลรัสเซียถูกครอบงำไปด้วยผลประโยชน์ของนายทุนอันโดดเด่น เช่นเดียวกับขุนนางและชนชั้นสูงของรัสเซียโดยมีโอมเป็นผู้ปกครองผู้บ้ากาม


== ชนวนเหตุ ==
== ชนวนเหตุ คือไอไผ่ ==
[[การปฏิวัติเดือนกุมภาพันธ์]] (เดือนมีนาคม พ.ศ. 2460 ตามปฏิทินเกรโกเรียน) เป็นการปฏิวัติในเฉพาะบริเวณนคร[[เซนต์ปีเตอส์เบิร์ก|เปโตรกราด]] (ปัจจุบัน: เซนต์ปีเตอส์เบิร์ก) ภายใต้ภาวะความวุ่นวายนั้นเอง สมาชิก[[รัฐสภาดูมา|รัฐสภาหลวงดูมา]]ถือโอกาสเข้ายึดอำนาจการบริหารประเทศและจัดตั้งรัฐบาลเฉพาะกาลขึ้น เหล่าผู้นำกองทัพต่างรู้สึกว่าความพยายามปราบปรามการจลาจลของตนนั้นไร้ผล และ[[ซาร์นีคาไลที่ 2 แห่งรัสเซีย|พระเจ้าซาร์นิโคลัสที่ 2]] พระเจ้าซาร์แห่งรัสเซียองค์สุดท้ายก็ทำการสละราชสมบัติ ในตอนแรกเริ่ม พวกโซเวียต (สภาแรงงาน) ซึ่งนำโดยพวกสังคมนิยมหัวรุนแรงอนุญาตให้รัฐบาลเฉพาะกาลเข้าบริหารประเทศ แต่ยืนยันให้พวกตนได้รับอภิสิทธิ์ในการแทรกแซงรัฐบาลและควบคุมกองกำลังต่าง ๆ มากมาย กล่าวได้ว่าการปฏิวัติเดือนกุมภาพันธ์เกิดขึ้นในบริบทของความพ่ายแพ้ทางทหารอย่างหนักในช่วง[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]] (พ.ศ. 2457 - 2461) ซึ่งทำให้กองทัพส่วนมากอยู่ในสภาพของการก่อกบฏ
เพราะว่า[[การปฏิวัติเดือนกุมภาพันธ์]] (เดือนมีนาคม พ.ศ. 2460 ปฎิวัติเยดตูด ตามปฏิทินเกรโกเรียน) เป็นการปฏิวัติในเฉพาะบริเวณนคร[[เซนต์ปีเตอส์เบิร์ก|เปโตรกราด]] (ปัจจุบัน: เซนต์ปีเตอส์เบิร์ก) ภายใต้ภาวะความวุ่นวายนั้นเอง สมาชิก[[รัฐสภาดูมา|รัฐสภาหลวงดูมา]]ถือโอกาสเข้ายึดอำนาจการบริหารประเทศและจัดตั้งรัฐบาลเฉพาะกาลขึ้น เหล่าผู้นำกองทัพต่างรู้สึกว่าความพยายามปราบปรามการจลาจลของตนนั้นไร้ผล และ[[ซาร์นีคาไลที่ 2 แห่งรัสเซีย|พระเจ้าซาร์นิโคลัสที่ 2]] พระเจ้าซาร์แห่งรัสเซียองค์สุดท้ายก็ทำการสละราชสมบัติ ในตอนแรกเริ่ม พวกโซเวียต (สภาแรงงาน) ซึ่งนำโดยพวกสังคมนิยมหัวรุนแรงอนุญาตให้รัฐบาลเฉพาะกาลเข้าบริหารประเทศ แต่ยืนยันให้พวกตนได้รับอภิสิทธิ์ในการแทรกแซงรัฐบาลและควบคุมกองกำลังต่าง ๆ มากมาย กล่าวได้ว่าการปฏิวัติเดือนกุมภาพันธ์เกิดขึ้นในบริบทของความพ่ายแพ้ทางทหารอย่างหนักในช่วง[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]] (พ.ศ. 2457 - 2461) ซึ่งทำให้กองทัพส่วนมากอยู่ในสภาพของการก่อกบฏ


ช่วงเวลาของ ''[[อำนาจคู่]]'' (Dual power) จึงได้ถือกำเนิดขึ้น ซึ่งเป็นช่วงที่รัฐบาลเฉพาะกาลครอบครองอำนาจรัฐ ขณะที่เครือข่ายโซเวียตแห่งชาติซึ่งนำโดยพวกสังคมนิยมก็ได้รับการสวามิภักดิ์จากเหล่าชนชั้นล่างและพวก[[ฝ่ายซ้าย-ฝ่ายขวา|ฝ่ายซ้าย]] และตลอดช่วงเวลาแห่งความวุ่นวายนี้มีการก่อกบฏ, ประท้วง และนัดหยุดงานมากมายหลายครั้ง ต่อมารัฐบาลเฉพาะกาลตัดสินใจที่จะยังคงทำสงครามกับเยอรมนีต่อไป ส่งผลให้พวกบอลเชวิกและนักสังคมนิยมกลุ่มต่าง ๆ เริ่มออกมารณรงค์ให้ยุติการสู้รบกับเยอรมนี บอลเชวิกได้ทำการเปลี่ยนกองกำลังจากชนชั้นแรงงานให้ไปเป็น ''เรดการ์ด'' ซึ่งต่อมาได้พัฒนามาเป็น[[กองทัพแดง]] และกองกำลังนี้เองที่บอลเชวิกควบคุมเอาใจใส่อย่างมีนัยสำคัญ<ref>Orlando Figes, ''A Peoples Tragedy'', p370</ref>
ช่วงเวลาของ ''[[อำนาจคู่]]'' (Dual power) จึงได้ถือกำเนิดขึ้น ซึ่งเป็นช่วงที่รัฐบาลเฉพาะกาลครอบครองอำนาจรัฐ ขณะที่เครือข่ายโซเวียตแห่งชาติซึ่งนำโดยพวกสังคมนิยมก็ได้รับการสวามิภักดิ์จากเหล่าชนชั้นล่างและพวก[[ฝ่ายซ้าย-ฝ่ายขวา|ฝ่ายซ้าย]] และตลอดช่วงเวลาแห่งความวุ่นวายนี้มีการก่อกบฏ, ประท้วง และนัดหยุดงานมากมายหลายครั้ง ต่อมารัฐบาลเฉพาะกาลตัดสินใจที่จะยังคงทำสงครามกับเยอรมนีต่อไป ส่งผลให้พวกบอลเชวิกและนักสังคมนิยมกลุ่มต่าง ๆ เริ่มออกมารณรงค์ให้ยุติการสู้รบกับเยอรมนี บอลเชวิกได้ทำการเปลี่ยนกองกำลังจากชนชั้นแรงงานให้ไปเป็น ''เรดการ์ด'' ซึ่งต่อมาได้พัฒนามาเป็น[[กองทัพแดง]] และกองกำลังนี้เองที่บอลเชวิกควบคุมเอาใจใส่อย่างมีนัยสำคัญ<ref>Orlando Figes, ''A Peoples Tragedy'', p370</ref>


ถัดมาใน[[การปฏิวัติเดือนตุลาคม]] (เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2460 ตามปฏิทินเกรโกเรียน) พรรค[[บอลเชวิก]]ภายใต้การนำของ[[วลาดีมีร์ เลนิน]]และเหล่าชนชั้นแรงงานโซเวียตเข้าล้มล้างการปกครองของรัฐบาลเฉพาะกาล ณ กรุงเซนต์ปีเตอส์เบิร์ก พวกบอลเชวิกแต่งตั้งตนเองขึ้นเป็นผู้นำในกระทรวงต่าง ๆ มากมายรวมไปถึงการเข้ายึดอำนาจตามชนบทต่าง ๆ จัดตั้งหน่วย ''เชกา'' เพื่อปราบปรามการต่อต้านการปฏิวัติ และเพื่อที่จะบรรลุเป้าหมายการยุติสงครามกับเยอรมนี บอลเชวิกได้ร่วมลงนามใน[[สนธิสัญญาเบรสท์-ลีตอฟสก์]]กับเยอรมนีในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2461
ถัดมาใน[[การปฏิวัติเดือนตุลาคม]] (เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2460 ตามปฏิทินเกรโกเรียน) พรรค[[บอลเชวิก]]ภายใต้การนำของ[[วลาดีมีร์ เลนิน|วลาดีมีร์ เลนิน(พ่อไอไผ่)]]และเหล่าชนชั้นแรงงานโซเวียตเข้าล้มล้างการปกครองของรัฐบาลเฉพาะกาล ณ กรุงเซนต์ปีเตอส์เบิร์ก พวกบอลเชวิกแต่งตั้งตนเองขึ้นเป็นผู้นำในกระทรวงต่าง ๆ มากมายรวมไปถึงการเข้ายึดอำนาจตามชนบทต่าง ๆ จัดตั้งหน่วย ''เชกา'' เพื่อปราบปรามการต่อต้านการปฏิวัติ และเพื่อที่จะบรรลุเป้าหมายการยุติสงครามกับเยอรมนี บอลเชวิกได้ร่วมลงนามใน[[สนธิสัญญาเบรสท์-ลีตอฟสก์]]กับเยอรมนีในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2461


== หลังจากสิ้นสุด ==
== หลังจากสิ้นสุด ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:14, 17 กุมภาพันธ์ 2565

การปฏิวัติรัสเซีย[a] หรือ การปฏิวัติ ค.ศ. 1917[b] (ค.ศ. 1917 – 1923) เป็นช่วงเวลาของการปฏิวัติทางการเมืองและทางสังคม ที่เกิดขึ้นบนอดีตจักรวรรดิรัสเซียเดิม และเริ่มต้นขึ้นในสมัยสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ซึ่งเริ่มต้นใน ค.ศ. 1917 ด้วยการล่มสลายของราชวงศ์โรมานอฟ และสิ้นสุดลงใน ค.ศ. 1923 โดยการสถาปนาสหภาพโซเวียตโดยบอลเชวิค (เมื่อสงครามกลางเมืองรัสเซียสิ้นสุดลง) การปฏิวัติรัสเซียเกิดขึ้น 2 ครั้ง คือ การปฏิวัติครั้งแรกเป็นการล้มล้างรัฐบาลจักรวรรดิที่นำโดยจักรพรรดินีโคไลที่ 2 และการปฏิวัติครั้งที่สอง เป็นการล้มล้างอำนาจของรัฐบาลเฉพาะกาลและแทนที่ด้วยอำนาจของบอลเชวิค

การปฏิวัติรัสเซียเริ่มต้นขึ้นด้วยการปฏิวัติเดือนกุมภาพันธ์ การปฏิวัติครั้งแรกมุ่งเน้นไปที่ภายในเมืองหลวงเปโตรกราด[c] และบริเวณโดยรอบ ภายหลังเกิดการสูญเสียทางทหารครั้งใหญ่ระหว่างช่วงสงคราม ซึ่งทำให้กองทัพบกรัสเซียได้เปลี่ยนสภาพกลับไปเป็นการก่อกบฎ รัฐสภารัสเซีย (หรือที่เรียกว่าดูมา) จึงได้ทำการตอบโต้ด้วยการเข้าควบคุมประเทศ และจัดตั้งรัฐบาลเฉพาะกาลรัสเซียต่อไป รัฐบาลเฉพาะกาลรัสเซียถูกครอบงำไปด้วยผลประโยชน์ของนายทุนอันโดดเด่น เช่นเดียวกับขุนนางและชนชั้นสูงของรัสเซียโดยมีโอมเป็นผู้ปกครองผู้บ้ากาม

ชนวนเหตุ คือไอไผ่

เพราะว่าการปฏิวัติเดือนกุมภาพันธ์ (เดือนมีนาคม พ.ศ. 2460 ปฎิวัติเยดตูด ตามปฏิทินเกรโกเรียน) เป็นการปฏิวัติในเฉพาะบริเวณนครเปโตรกราด (ปัจจุบัน: เซนต์ปีเตอส์เบิร์ก) ภายใต้ภาวะความวุ่นวายนั้นเอง สมาชิกรัฐสภาหลวงดูมาถือโอกาสเข้ายึดอำนาจการบริหารประเทศและจัดตั้งรัฐบาลเฉพาะกาลขึ้น เหล่าผู้นำกองทัพต่างรู้สึกว่าความพยายามปราบปรามการจลาจลของตนนั้นไร้ผล และพระเจ้าซาร์นิโคลัสที่ 2 พระเจ้าซาร์แห่งรัสเซียองค์สุดท้ายก็ทำการสละราชสมบัติ ในตอนแรกเริ่ม พวกโซเวียต (สภาแรงงาน) ซึ่งนำโดยพวกสังคมนิยมหัวรุนแรงอนุญาตให้รัฐบาลเฉพาะกาลเข้าบริหารประเทศ แต่ยืนยันให้พวกตนได้รับอภิสิทธิ์ในการแทรกแซงรัฐบาลและควบคุมกองกำลังต่าง ๆ มากมาย กล่าวได้ว่าการปฏิวัติเดือนกุมภาพันธ์เกิดขึ้นในบริบทของความพ่ายแพ้ทางทหารอย่างหนักในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (พ.ศ. 2457 - 2461) ซึ่งทำให้กองทัพส่วนมากอยู่ในสภาพของการก่อกบฏ

ช่วงเวลาของ อำนาจคู่ (Dual power) จึงได้ถือกำเนิดขึ้น ซึ่งเป็นช่วงที่รัฐบาลเฉพาะกาลครอบครองอำนาจรัฐ ขณะที่เครือข่ายโซเวียตแห่งชาติซึ่งนำโดยพวกสังคมนิยมก็ได้รับการสวามิภักดิ์จากเหล่าชนชั้นล่างและพวกฝ่ายซ้าย และตลอดช่วงเวลาแห่งความวุ่นวายนี้มีการก่อกบฏ, ประท้วง และนัดหยุดงานมากมายหลายครั้ง ต่อมารัฐบาลเฉพาะกาลตัดสินใจที่จะยังคงทำสงครามกับเยอรมนีต่อไป ส่งผลให้พวกบอลเชวิกและนักสังคมนิยมกลุ่มต่าง ๆ เริ่มออกมารณรงค์ให้ยุติการสู้รบกับเยอรมนี บอลเชวิกได้ทำการเปลี่ยนกองกำลังจากชนชั้นแรงงานให้ไปเป็น เรดการ์ด ซึ่งต่อมาได้พัฒนามาเป็นกองทัพแดง และกองกำลังนี้เองที่บอลเชวิกควบคุมเอาใจใส่อย่างมีนัยสำคัญ[1]

ถัดมาในการปฏิวัติเดือนตุลาคม (เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2460 ตามปฏิทินเกรโกเรียน) พรรคบอลเชวิกภายใต้การนำของวลาดีมีร์ เลนิน(พ่อไอไผ่)และเหล่าชนชั้นแรงงานโซเวียตเข้าล้มล้างการปกครองของรัฐบาลเฉพาะกาล ณ กรุงเซนต์ปีเตอส์เบิร์ก พวกบอลเชวิกแต่งตั้งตนเองขึ้นเป็นผู้นำในกระทรวงต่าง ๆ มากมายรวมไปถึงการเข้ายึดอำนาจตามชนบทต่าง ๆ จัดตั้งหน่วย เชกา เพื่อปราบปรามการต่อต้านการปฏิวัติ และเพื่อที่จะบรรลุเป้าหมายการยุติสงครามกับเยอรมนี บอลเชวิกได้ร่วมลงนามในสนธิสัญญาเบรสท์-ลีตอฟสก์กับเยอรมนีในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2461

หลังจากสิ้นสุด

สงครามกลางเมืองอุบัติขึ้นระหว่าง กองทัพแดง (ฝ่ายบอลเชวิก) กับ กองทัพขาว (ฝ่ายต่อต้านบอลเชวิก) ซึ่งดำเนินไปหลายปี แต่ในท้ายที่สุดแล้วกองทัพแดงของฝ่ายบอลเชวิกก็มีชัยชนะอย่างเด็ดขาดเหนือฝ่ายกองทัพขาว และการสิ้นสุดลงของระลอกการปฏิวัตินี้เองที่ปูทางรัสเซียให้เขาสู่ยุคของสหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต แม้ว่าเหตุการณ์หลักทางประวัติศาสตร์ส่วนมากจะเกิดขึ้นในกรุงเซนต์ปีเตอส์เบิร์กและกรุงมอสโก แต่ก็ยังคงสามารถพบเห็นการเคลื่อนไหวต่าง ๆ ตลอดช่วงของการปฏิวัติได้ในแถบชนบทและหมู่บ้านทั่วประเทศ รวมไปถึงชนกลุ่มน้อยและบริเวณทุรกันดาร ที่ซึ่งชาวนาและทาสเข้ายึดที่ดินทำกินจากชนชั้นขุนนางแล้วแจกจ่ายปันส่วนให้แก่ตนเองใหม่

หมายเหตุ

  1. รัสเซีย: Русская революция, อักษรโรมัน: Russkaya revolyutsiya, สัทอักษรสากล: [ˈruskəjə rʲɪvɐlˈʲutsɨjə]
  2. รัสเซีย: Революция 1917 года, อักษรโรมัน: Revolyutsiya 1917 goda
  3. ในปัจจุบันคือเซนต์ปีเตอส์เบิร์ก

อ้างอิง

  1. Orlando Figes, A Peoples Tragedy, p370