ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรงแรมสยามอินเตอร์คอนติเนนตัล"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
DMS WIKI (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
DMS WIKI (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับไอโอเอส
บรรทัด 22: บรรทัด 22:
}}
}}
[[ไฟล์:Bangkok_-_Hotel_Siam_Intercontinental_(Postcard).jpg|thumb|right|upright=1.2|รูปโปสต์การ์ดของโรงแรม ในปี พ.ศ. 2510]]
[[ไฟล์:Bangkok_-_Hotel_Siam_Intercontinental_(Postcard).jpg|thumb|right|upright=1.2|รูปโปสต์การ์ดของโรงแรม ในปี พ.ศ. 2510]]
'''โรงแรมสยามอินเตอร์คอนติเนนตัล''' ({{lang-en|Siam InterContinental Hotel}}) เป็นอดีตสิ่งก่อสร้างประเภทโรงแรมในบริเวณ[[ย่านสยาม]] ริม[[ถนนพระรามที่ 1]] [[เขตปทุมวัน]] [[กรุงเทพมหานคร]] โดยเดิมเป็นสวนผลไม้ของ[[สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า]] ซึ่งอยู่ในบริเวณ[[วังสระปทุม]] ต่อมา[[สยามพิวรรธน์|บริษัท บางกอกอินเตอร์คอนติเนนตอล โฮเต็ลส จำกัด]] ได้ขอเช่าที่ดินเพื่อก่อสร้างโรงแรม ซึ่งเป็นการร่วมทุนกับกลุ่มโรงแรมและรีสอร์ทอินเตอร์คอนติเนนตัล ซึ่งในขณะนั้นเป็นธุรกิจในเครือ[[แพนอเมริกันเวิลด์แอร์เวส์]]<ref name="42thbihc">[http://info.gotomanager.com/news/details.aspx?id=2763 42 ปี บางกอกอินเตอร์คอนติเนนตอลโฮเต็ลส]</ref> โดย[[สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี]] เสด็จพระราชดำเนินทรงวางศิลาฤกษ์ เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2507<ref>[http://2bangkok.com/2bangkok-MassTransit-intercon.shtml End of the Siam Intercontinental Hotel]</ref> โรงแรมเปิดให้บริการในปี พ.ศ. 2509 และมีพิธีเปิดอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2511<ref name="2bangkok-remember">[http://2bangkok.com/2bangkok-MassTransit-lastday2.shtml Remembering the grounds of the Siam Intercontinental Hotel]</ref>
'''โรงแรมสยามอินเตอร์คอนติเนนตัล''' ({{lang-en|Siam InterContinental Hotel}}) เป็นอดีตสิ่งก่อสร้างประเภทโรงแรมในบริเวณ[[ย่านสยาม]] ริม[[ถนนพระรามที่ 1]] [[เขตปทุมวัน]] [[กรุงเทพมหานคร]] โดยเดิมเป็นสวนผลไม้ของ[[สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า]] ซึ่งอยู่ในบริเวณ[[วังสระปทุม]] ต่อมา[[สยามพิวรรธน์|บริษัท บางกอกอินเตอร์คอนติเนนตอล โฮเต็ลส จำกัด]] ได้ขอเช่าที่ดินเพื่อก่อสร้างโรงแรม โดยเป็นการร่วมทุนกับกลุ่มโรงแรมและรีสอร์ทอินเตอร์คอนติเนนตัล ซึ่งในขณะนั้นเป็นธุรกิจในเครือ[[แพนอเมริกันเวิลด์แอร์เวส์]]<ref name="42thbihc">[http://info.gotomanager.com/news/details.aspx?id=2763 42 ปี บางกอกอินเตอร์คอนติเนนตอลโฮเต็ลส]</ref> โดย[[สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี]] เสด็จพระราชดำเนินทรงวางศิลาฤกษ์ เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2507<ref>[http://2bangkok.com/2bangkok-MassTransit-intercon.shtml End of the Siam Intercontinental Hotel]</ref> โรงแรมเปิดให้บริการในปี พ.ศ. 2509 และมีพิธีเปิดอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2511<ref name="2bangkok-remember">[http://2bangkok.com/2bangkok-MassTransit-lastday2.shtml Remembering the grounds of the Siam Intercontinental Hotel]</ref>


โรงแรมสยามอินเตอร์คอนติเนนตัล ถือเป็นโรงแรมแห่งแรกของไทยที่บริหารโดยกลุ่มธุรกิจโรงแรมจากต่างประเทศ ตั้งอยู่บนพื้นที่ 65 ไร่ ประกอบด้วยห้องพักจำนวน 411 ห้อง ต่อมาลดลงเป็น 389 ห้อง<ref name="thailand-guide"/> โดยห้องพักตั้งอยู่ในอาคารรูปตัววายสูงสองชั้นจำนวนสองอาคาร กับอาคารรูปตัววีสูงหกชั้นอีกหนึ่งอาคาร<ref name="palung"/><ref name="2bangkok-remember"/> และมีร้านอาหาร ห้องจัดเลี้ยง ซึ่งมีห้องแกรนด์สยามบอลรูม ความจุสูงสุด 2,500 ที่นั่ง เป็นห้องจัดเลี้ยงใหญ่ที่สุด<ref name="thailand-guide"/> นอกจากนี้ยังมีสระว่ายน้ำ ศูนย์กีฬา ย่านร้านค้า และสิ่งอำนวยความสะดวกอื่น ๆ<ref name="2bangkok-remember"/><ref>[https://nealprince-asid.com/id651.html InterContinental Hotel Corporation Digital Archives: Siam InterContinental Hotel Bangkok, Thailand (1966-1986)]</ref>โดยอาคารหลักของโรงแรม ออกแบบโดยสถาปนิกชาวสหรัฐ โจเซฟ พี. ซาเลอร์โน<ref>[https://d.dailynews.co.th/article/535980/ "ย่านสยาม" จิตวิญญาณที่ไม่หยุดนิ่ง]</ref><ref>{{cite book |last1=Ünaldi |first1=Serhat |title=Working Towards the Monarchy: The Politics of Space in Downtown Bangkok |date=2016 |publisher=University of Hawaii Press |location=Honolulu |isbn=9780824855758 |page=149–151}}</ref>
โรงแรมสยามอินเตอร์คอนติเนนตัล ถือเป็นโรงแรมแห่งแรกของไทยที่บริหารโดยกลุ่มธุรกิจโรงแรมจากต่างประเทศ ตั้งอยู่บนพื้นที่ 65 ไร่ ประกอบด้วยห้องพักจำนวน 411 ห้อง ต่อมาลดลงเป็น 389 ห้อง<ref name="thailand-guide"/> โดยห้องพักตั้งอยู่ในอาคารรูปตัววายสูงสองชั้นจำนวนสองอาคาร กับอาคารรูปตัววีสูงหกชั้นอีกหนึ่งอาคาร<ref name="palung"/><ref name="2bangkok-remember"/> และมีร้านอาหาร ห้องจัดเลี้ยง ซึ่งมีห้องแกรนด์สยามบอลรูม ความจุสูงสุด 2,500 ที่นั่ง เป็นห้องจัดเลี้ยงใหญ่ที่สุด<ref name="thailand-guide"/> นอกจากนี้ยังมีสระว่ายน้ำ ศูนย์กีฬา ย่านร้านค้า และสิ่งอำนวยความสะดวกอื่น ๆ<ref name="2bangkok-remember"/><ref>[https://nealprince-asid.com/id651.html InterContinental Hotel Corporation Digital Archives: Siam InterContinental Hotel Bangkok, Thailand (1966-1986)]</ref>โดยอาคารหลักของโรงแรม ออกแบบโดยสถาปนิกชาวสหรัฐ โจเซฟ พี. ซาเลอร์โน<ref>[https://d.dailynews.co.th/article/535980/ "ย่านสยาม" จิตวิญญาณที่ไม่หยุดนิ่ง]</ref><ref>{{cite book |last1=Ünaldi |first1=Serhat |title=Working Towards the Monarchy: The Politics of Space in Downtown Bangkok |date=2016 |publisher=University of Hawaii Press |location=Honolulu |isbn=9780824855758 |page=149–151}}</ref>


เมื่อโรงแรมดำเนินกิจการมาครบ 30 ปี ครบกำหนดสัญญาเช่าในปี พ.ศ. 2538 และได้รับการขยายอายุสัญญาต่อไปอีก 30 ปี<ref name="paragon-pride">[http://info.gotomanager.com/news/details.aspx?id=2761 Siam Paragon The Pride of Bangkok]</ref> และมีโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ขนาดใหญ่บนพื้นที่เดิมของโรงแรม เพื่อให้เหมาะสมกับมูลค่าของที่ดินที่เพิ่มสูงขึ้น จึงได้ยุติการดำเนินกิจการโรงแรม เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2545<ref name="2bangkok-lastday">[http://2bangkok.com/2bangkok-MassTransit-lastday.shtml Last Day at the Intercontinental Hotel]</ref> และต่อมาได้รื้อสิ่งปลูกสร้างในบริเวณดังกล่าวทั้งหมด เพื่อพัฒนาเป็นศูนย์การค้า[[สยามพารากอน]]<ref name="palung"/><ref name="paragon-pride"/>
เมื่อโรงแรมดำเนินกิจการมาครบ 30 ปี ครบกำหนดสัญญาเช่าในปี พ.ศ. 2538 และได้รับการขยายอายุสัญญาต่อไปอีก 30 ปี<ref name="paragon-pride">[http://info.gotomanager.com/news/details.aspx?id=2761 Siam Paragon The Pride of Bangkok]</ref> อีกทั้งมีโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ขนาดใหญ่บนพื้นที่เดิมของโรงแรม เพื่อให้เหมาะสมกับมูลค่าของที่ดินที่เพิ่มสูงขึ้น จึงได้ยุติการดำเนินกิจการโรงแรม เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2545<ref name="2bangkok-lastday">[http://2bangkok.com/2bangkok-MassTransit-lastday.shtml Last Day at the Intercontinental Hotel]</ref> และต่อมาได้รื้อสิ่งปลูกสร้างในบริเวณดังกล่าวทั้งหมด เพื่อพัฒนาเป็นศูนย์การค้า[[สยามพารากอน]]<ref name="palung"/><ref name="paragon-pride"/>


==อ้างอิง==
==อ้างอิง==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:39, 16 มกราคม 2565

โรงแรมสยามอินเตอร์คอนติเนนตัล
โรงแรมสยามอินเตอร์คอนติเนนตัลตั้งอยู่ในกรุงเทพมหานคร
โรงแรมสยามอินเตอร์คอนติเนนตัล
ที่ตั้งภายในกรุงเทพมหานคร
ข้อมูลทั่วไป
ที่ตั้ง967[1] ถนนพระรามที่ 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร
ไทย ประเทศไทย
พิกัด13°44′46.824″N 100°32′4.9884″E / 13.74634000°N 100.534719000°E / 13.74634000; 100.534719000
เปิดใช้งาน15 สิงหาคม พ.ศ. 2511
ปิดใช้งาน30 มิถุนายน พ.ศ. 2545[2]
เจ้าของบริษัท บางกอกอินเตอร์คอนติเนนตอล โฮเต็ลส จำกัด
การออกแบบและการก่อสร้าง
สถาปนิกโจเซฟ พี. ซาเลอร์โน
ข้อมูลอื่น
จำนวนห้อง389[1]
จำนวนห้องชุด35[1]
จำนวนร้านอาหาร4[1]
ไฟล์:Bangkok - Hotel Siam Intercontinental (Postcard).jpg
รูปโปสต์การ์ดของโรงแรม ในปี พ.ศ. 2510

โรงแรมสยามอินเตอร์คอนติเนนตัล (อังกฤษ: Siam InterContinental Hotel) เป็นอดีตสิ่งก่อสร้างประเภทโรงแรมในบริเวณย่านสยาม ริมถนนพระรามที่ 1 เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร โดยเดิมเป็นสวนผลไม้ของสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า ซึ่งอยู่ในบริเวณวังสระปทุม ต่อมาบริษัท บางกอกอินเตอร์คอนติเนนตอล โฮเต็ลส จำกัด ได้ขอเช่าที่ดินเพื่อก่อสร้างโรงแรม โดยเป็นการร่วมทุนกับกลุ่มโรงแรมและรีสอร์ทอินเตอร์คอนติเนนตัล ซึ่งในขณะนั้นเป็นธุรกิจในเครือแพนอเมริกันเวิลด์แอร์เวส์[3] โดยสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี เสด็จพระราชดำเนินทรงวางศิลาฤกษ์ เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2507[4] โรงแรมเปิดให้บริการในปี พ.ศ. 2509 และมีพิธีเปิดอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2511[5]

โรงแรมสยามอินเตอร์คอนติเนนตัล ถือเป็นโรงแรมแห่งแรกของไทยที่บริหารโดยกลุ่มธุรกิจโรงแรมจากต่างประเทศ ตั้งอยู่บนพื้นที่ 65 ไร่ ประกอบด้วยห้องพักจำนวน 411 ห้อง ต่อมาลดลงเป็น 389 ห้อง[1] โดยห้องพักตั้งอยู่ในอาคารรูปตัววายสูงสองชั้นจำนวนสองอาคาร กับอาคารรูปตัววีสูงหกชั้นอีกหนึ่งอาคาร[2][5] และมีร้านอาหาร ห้องจัดเลี้ยง ซึ่งมีห้องแกรนด์สยามบอลรูม ความจุสูงสุด 2,500 ที่นั่ง เป็นห้องจัดเลี้ยงใหญ่ที่สุด[1] นอกจากนี้ยังมีสระว่ายน้ำ ศูนย์กีฬา ย่านร้านค้า และสิ่งอำนวยความสะดวกอื่น ๆ[5][6]โดยอาคารหลักของโรงแรม ออกแบบโดยสถาปนิกชาวสหรัฐ โจเซฟ พี. ซาเลอร์โน[7][8]

เมื่อโรงแรมดำเนินกิจการมาครบ 30 ปี ครบกำหนดสัญญาเช่าในปี พ.ศ. 2538 และได้รับการขยายอายุสัญญาต่อไปอีก 30 ปี[9] อีกทั้งมีโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ขนาดใหญ่บนพื้นที่เดิมของโรงแรม เพื่อให้เหมาะสมกับมูลค่าของที่ดินที่เพิ่มสูงขึ้น จึงได้ยุติการดำเนินกิจการโรงแรม เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2545[10] และต่อมาได้รื้อสิ่งปลูกสร้างในบริเวณดังกล่าวทั้งหมด เพื่อพัฒนาเป็นศูนย์การค้าสยามพารากอน[2][9]

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 Siam Inter-Continental Bangkok
  2. 2.0 2.1 2.2 โรงแรมสยามอินเตอร์คอนติเนนตัล จากเฟซบุ๊กเพจ "นิทรรศการพลังแผ่นดิน อัศจรรย์งานศิลป์แผ่นดินสยาม"
  3. 42 ปี บางกอกอินเตอร์คอนติเนนตอลโฮเต็ลส
  4. End of the Siam Intercontinental Hotel
  5. 5.0 5.1 5.2 Remembering the grounds of the Siam Intercontinental Hotel
  6. InterContinental Hotel Corporation Digital Archives: Siam InterContinental Hotel Bangkok, Thailand (1966-1986)
  7. "ย่านสยาม" จิตวิญญาณที่ไม่หยุดนิ่ง
  8. Ünaldi, Serhat (2016). Working Towards the Monarchy: The Politics of Space in Downtown Bangkok. Honolulu: University of Hawaii Press. p. 149–151. ISBN 9780824855758.
  9. 9.0 9.1 Siam Paragon The Pride of Bangkok
  10. Last Day at the Intercontinental Hotel