ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การก่อการกำเริบในเยอรมนีตะวันออก ค.ศ. 1953"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 1 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.8
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 32: บรรทัด 32:
{{Eastern Bloc sidebar}}
{{Eastern Bloc sidebar}}


'''การก่อการกำเริบในเยอรมนีตะวันออก ค.ศ. 1953''' เริ่มต้นด้วย[[การนัดหยุดงาน]]โดยคนงานก่อสร้างชาว[[เบอร์ลินตะวันออก]]เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน ค.ศ. 1953 ก่อนเปลี่ยนเป็นการก่อการกำเริบอย่างกว้างขวางต่อรัฐบาล[[สาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมัน]]ในวันรุ่งขึ้น ในประเทศเยอรมนี เหตุการณ์ดังกล่าวมักเรียก '''การก่อการกำเริบของประชาชนในเยอรมนีตะวันออก''' เพื่อเป็นการรำลึก วันที่ 17 มิถุนายนเคยเป็นวันหยุดราชการใน[[เยอรมนีตะวันตก]]กระทั่ง[[การรวมประเทศเยอรมนี|รวมชาติ]]
'''การก่อการกำเริบในเยอรมนีตะวันออก ค.ศ. 1953''' ({{lang-en|East German uprising of 1953}}; {{lang-de|Volksaufstand vom 17. Juni 1953}}) เริ่มต้นด้วย[[การนัดหยุดงาน]]โดยคนงานก่อสร้างชาว[[เบอร์ลินตะวันออก]]เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน ค.ศ. 1953 ก่อนเปลี่ยนเป็นการก่อการกำเริบอย่างกว้างขวางต่อรัฐบาล[[สาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมัน]]ในวันรุ่งขึ้น ในประเทศเยอรมนี เหตุการณ์ดังกล่าวมักเรียก '''การก่อการกำเริบของประชาชนในเยอรมนีตะวันออก''' เพื่อเป็นการรำลึก วันที่ 17 มิถุนายนเคยเป็นวันหยุดราชการใน[[เยอรมนีตะวันตก]]กระทั่ง[[การรวมประเทศเยอรมนี|รวมชาติ]]


การก่อการกำเริบในเบอร์ลินตะวันตกถูกรถถังแห่งกลุ่มกำลังโซเวียตในเยอรมนีและโฟล์คสโปลีไซปราบปรามอย่างรุนแรง แม้จะมีทหารโซเวียตเข้าแทรกแซง ที่คลื่นการนัดหยุดงานและการประท้วงก็ไม่อาจกลับสู่การควบคุมได้โดยง่าย แม้หลังวันที่ 17 มิถุนายน มีการเดินขบวนในเมืองและหมู่บ้านกว่า 500 แห่ง
การก่อการกำเริบในเบอร์ลินตะวันตกถูกรถถังแห่งกลุ่มกำลังโซเวียตในเยอรมนีและโฟล์คสโปลีไซปราบปรามอย่างรุนแรง แม้จะมีทหารโซเวียตเข้าแทรกแซง ที่คลื่นการนัดหยุดงานและการประท้วงก็ไม่อาจกลับสู่การควบคุมได้โดยง่าย แม้หลังวันที่ 17 มิถุนายน มีการเดินขบวนในเมืองและหมู่บ้านกว่า 500 แห่ง

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:25, 17 ธันวาคม 2564

การก่อการกำเริบในเบอร์ลินตะวันออก ค.ศ. 1953
ส่วนหนึ่งของ สงครามเย็น

รถถังโซเวียด T-34/85 ที่เบอร์ลินตะวันออก ในวันที่ 17 มิถุนายน 1953
วันที่16–17 มิถุนายน ค.ศ. 1953
สถานที่
ผล การก่อการกำเริบถูกปราบปราม
คู่สงคราม
ผู้ประท้วงชาวเยอรมันตะวันออก

 สหภาพโซเวียต

 เยอรมนีตะวันออก

การก่อการกำเริบในเยอรมนีตะวันออก ค.ศ. 1953 (อังกฤษ: East German uprising of 1953; เยอรมัน: Volksaufstand vom 17. Juni 1953) เริ่มต้นด้วยการนัดหยุดงานโดยคนงานก่อสร้างชาวเบอร์ลินตะวันออกเมื่อวันที่ 16 มิถุนายน ค.ศ. 1953 ก่อนเปลี่ยนเป็นการก่อการกำเริบอย่างกว้างขวางต่อรัฐบาลสาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมันในวันรุ่งขึ้น ในประเทศเยอรมนี เหตุการณ์ดังกล่าวมักเรียก การก่อการกำเริบของประชาชนในเยอรมนีตะวันออก เพื่อเป็นการรำลึก วันที่ 17 มิถุนายนเคยเป็นวันหยุดราชการในเยอรมนีตะวันตกกระทั่งรวมชาติ

การก่อการกำเริบในเบอร์ลินตะวันตกถูกรถถังแห่งกลุ่มกำลังโซเวียตในเยอรมนีและโฟล์คสโปลีไซปราบปรามอย่างรุนแรง แม้จะมีทหารโซเวียตเข้าแทรกแซง ที่คลื่นการนัดหยุดงานและการประท้วงก็ไม่อาจกลับสู่การควบคุมได้โดยง่าย แม้หลังวันที่ 17 มิถุนายน มีการเดินขบวนในเมืองและหมู่บ้านกว่า 500 แห่ง

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

หนังสืออ่านเพิ่มเติม

  • Ostermann, Christian F.; Malcolm Byrne. Uprising in East Germany, 1953. Central European University Press. pp. 35–45.
  • Richie, Alexandra. Faust's Metropolis: a History of Berlin. New York: Carroll & Graf Publishers, 1998, ch 14
  • Sperber, Jonathan. "17 June 1953: Revisiting a German Revolution" German History (2004) 22#4 pp 619–643.
  • Tusa, Ann . The Last Division: a History of Berlin, 1945-1989. Reading, Massachusetts: Addison-Wesley, 1997.
  • Harman, Chris, Class Struggles in Eastern Europe, 1945-1983 (London, 1988) ISBN 0-906224-47-0

แหล่งข้อมูลอื่น

แม่แบบ:กลุ่มตะวันออก