ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ศรีคำ002 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ศรีคำ002 (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 130: บรรทัด 130:
== การพิจารณาเสนอขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่ง ==
== การพิจารณาเสนอขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่ง ==
[[ไฟล์:Ordine dell'elefante bianco conferito da re rama VI a galileo chini, 4 agosto 1913 (archivio chini).jpg|thumb|250px|ตัวอย่างของประกาศนียบัตรสำหรับผู้ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกในอดีต ในที่นี้ เป็นประกาศนียบัตรของศาสตรจารย์[[กาลิเลโอ คินี]] จิตรกรชาวอิตาลีผู้วาดภาพจิตรกรรมประดับโดมเพดานของ[[พระที่นั่งอนันตสมาคม]] ซึ่งได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นที่ 3 นิภาภรณ์ จาก[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] เมื่อวันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2456]]
[[ไฟล์:Ordine dell'elefante bianco conferito da re rama VI a galileo chini, 4 agosto 1913 (archivio chini).jpg|thumb|250px|ตัวอย่างของประกาศนียบัตรสำหรับผู้ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกในอดีต ในที่นี้ เป็นประกาศนียบัตรของศาสตรจารย์[[กาลิเลโอ คินี]] จิตรกรชาวอิตาลีผู้วาดภาพจิตรกรรมประดับโดมเพดานของ[[พระที่นั่งอนันตสมาคม]] ซึ่งได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นที่ 3 นิภาภรณ์ จาก[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] เมื่อวันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2456]]
การเสนอขอเครื่องราชอิสริยาภรณ์ มีทั้งหมด 44 บัญชี
การเสนอขอเครื่องราชอิสริยาภรณ์ มีทั้งหมด 32 บัญชี
# บัญชี 1 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ให้แก่[[องคมนตรี]]
# บัญชี 1 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ให้แก่รัฐมนตรี
# บัญชี 2 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ให้แก่รัฐมนตรี
# บัญชี 2 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ให้แก่ข้าราชการการเมือง ผู้ช่วยรัฐมนตรี ผู้แทนการค้าไทย กรรมการประสานงานสภาผู้แทนราษฎร และกรรมการประสานงานวุฒิสภา
# บัญชี 3 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ให้แก่ข้าราชการการเมืองและคณะกรรมการประสานงานสภาผู้แทนราษฎรหรือคณะกรรมการประสานงานวุฒิสภา
# บัญชี 3 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ให้แก่ผู้ดำรงตำแหน่งในรัฐสภา
# บัญชี 4 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ให้แก่ผู้ดำรงตำแหน่งต่างๆ ในรัฐสภาและตุลาการรัฐธรรมนูญ
# บัญชี 4 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ให้แก่ข้าราชการการเมืองในกรุงเทพมหานคร
# บัญชี 5 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ให้แก่ข้าราชการการเมืองในกรุงเทพมหานคร
# บัญชี 5 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ให้แก่สมาชิกสภากรุงเทพมหานครและสมาชิกสภาเขตกรุงเทพมหานคร
# บัญชี 6 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ให้แก่สภากรุงเทพมหานครและสมาชิกสภาเขตกรุงเทพมหานคร
# บัญชี 6 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ให้แก่ผู้บริหารท้องถิ่น สมาชิกสภาท้องถิ่นและผู้ปฏิบัติงานในหน่วยงานตามกฎหมายจัดตั้งองค์กรส่วนท้องถิ่น
# บัญชี 7 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ให้แก่ข้าราชการ ยกเว้นที่ปรากฏในบัญชีอื่น
# บัญชี 7 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ให้แก่ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ
# บัญชี 8 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ให้แก่ข้าราชการทหาร
# บัญชี 8 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ให้แก่กรรมการการเลือกตั้ง
# บัญชี 9 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ให้แก่ข้าราชการตำรวจ
# บัญชี 9 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ให้แก่ผู้ตรวจการแผ่นดิน
# บัญชี 10 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ให้แก่ข้าราชการตุลาการ
# บัญชี 10 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ให้แก่กรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
# บัญชี 11 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ให้แก่ข้าราชการอัยการ
# บัญชี 11 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ให้แก่กรรมการตรวจเงินแผ่นดินและผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน
# บัญชี 12 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ให้แก่ผู้ปฏิบัติงานในหน่วยงานตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถิ่น
# บัญชี 12 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ให้แก่กรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
# บัญชี 13 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ให้แก่ผู้ปฏิบัติงานตามกฎหมายว่าด้วยลักษณะปกครองท้องที่
# บัญชี 13 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ให้แก่กรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ
# บัญชี 14 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ให้แก่พนักงานรัฐวิสาหกิจ เจ้าหน้าที่องค์การมหาชน พนักงานองค์การของรัฐ หรือพนักงานหน่วยงานอื่นของรัฐที่มีลักษณะอย่างเดียวกัน ยกเว้นที่ปรากฏในบัญชีอื่น ๆ
# บัญชี 14 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ให้แก่ราชบัณฑิต และกรรมการตามกฎหมายที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งตั้ง
# บัญชี 15 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ให้แก่ลูกจ้างประจำ
# บัญชี 15 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ให้แก่ข้าราชการ ยกเว้นที่ปรากฏในบัญชีอื่น
# บัญชี 16 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ให้แก่ดะโต๊ะยุติธรรมและผู้พิพากษาสมทบ
# บัญชี 16 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ให้แก่ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่งที่มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
# บัญชี 17 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ให้แก่เจ้าหน้าที่[[สภากาชาดไทย]]
# บัญชี 17 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ให้แก่ข้าราชการและพนักงานส่วนท้องถิ่น
# บัญชี 18 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ให้แก่ผู้ดำรงตำแหน่งใน[[สถาบันอุดมศึกษา]]ของรัฐที่มีลักษณะพิเศษ
# บัญชี 18 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ให้แก่ข้าราชการทหาร
# บัญชี 19 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ให้แก่ราชบัณฑิตและกรรมการตามกฎหมายที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง
# บัญชี 19 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ให้แก่ข้าราชการตำรวจ
# บัญชี 20 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ให้แก่ชาวต่างประเทศ
# บัญชี 20 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ให้แก่ข้าราชการตุลาการศาลยุติธรรม
# บัญชี 21 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ให้แก่คู่สมรสองคมนตรี
# บัญชี 21 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ให้แก่ข้าราชการตุลาการศาลปกครอง
# บัญชี 22 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ให้แก่คู่สมรสรัฐมนตรี
# บัญชี 22 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ให้แก่ดะโต๊ะยุติธรรม และผู้พิพากษาสมทบ
# บัญชี 23 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ให้แก่คู่สมรสสมาชิกรัฐสภา (บางตำแหน่ง)
# บัญชี 23 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ให้แก่ข้าราชการอัยการ
# บัญชี 24 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ให้แก่คู่สมรสผู้ดำรงตำแหน่ง (สมาชิกรัฐสภา/ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่/ทหารชั้นผู้ใหญ่/ตำรวจชั้นผู้ใหญ/ตุลาการ และอัยการ
# บัญชี 24 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ให้แก่ผู้ปฏิบัติงานตามกฎหมายว่าด้วยลักษณะปกครองท้องที่
# บัญชี 25 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ให้แก่กรรมการการเลือกตั้ง
# บัญชี 25 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ให้แก่ลูกจ้างประจำของส่วนราชการ
# บัญชี 26 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ให้แก่กรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
# บัญชี 26 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ให้แก่พนักงานราชการ
# บัญชี 27 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ให้แก่กรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
# บัญชี 27 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ให้แก่พนักงานรัฐวิสาหกิจ เจ้าหน้าที่องค์การมหาชน พนักงานองค์การของรัฐ หรือพนักงานหน่วยงานอื่นของรัฐที่มีลักษณะอย่างเดียวกัน ยกเว้นที่ปรากฏในบัญชีอื่น
# บัญชี 28 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ให้แก่ผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา
# บัญชี 28 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ให้แก่ผู้ดำรงตำแหน่งในหน่วยธุรการขององค์กรอิสระตามกฎหมายที่ไม่เป็นข้าราขการ
# บัญชี 29 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ให้แก่ตุลาการ[[ศาลปกครอง]]
# บัญชี 29 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ให้แก่ผู้ดำรงตำแหน่งในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐที่ไม่เป็นข้าราชการ
# บัญชี 30 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ให้แก่กรรมการกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์แห่งชาติและกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ
# บัญชี 30 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ให้แก่เจ้าหน้าที่สภากาชาดไทย
# บัญชี 31 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ให้แก่สมาชิกสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
# บัญชี 31 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ให้แก่ผู้มีผลงานความดีความชอบอย่างยิ่ง
# บัญชี 32 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ให้แก่พนักงานราชการ
# บัญชี 32 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ให้แก่ผู้แทนทางการทูตของต่างประเทศและชาวต่างประเทศ

# บัญชี 33 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ให้แก่คู่สมรสกรรมการการเลือกตั้ง
# บัญชี 34 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ให้แก่คู่สมรสกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
=== ตัวอย่างการขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ===
==== กรณีข้าราชการพลเรือน ====
# บัญชี 35 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ให้แก่คู่สมรสกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
# บัญชี 36 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ให้แก่คู่สมรสผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา
# บัญชี 37 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ให้แก่คู่สมรสตุลาการศาลปกครอง
# บัญชี 38 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ให้แก่คู่สมรสกรรมการกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์แห่งชาติและกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ
# บัญชี 39 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ให้แก่ตุลาการ[[ศาลรัฐธรรมนูญ]]
# บัญชี 40 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ให้แก่กรรมการตรวจเงินแผ่นดิน
# บัญชี 41 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ให้แก่ข้าราชการตามระบบจำแนกประเภทตำแหน่ง
# บัญชี 42 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ให้แก่พนักงานของหน่วยธุรการขององค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญที่ไม่เป็นข้าราชการ
# บัญชี 43 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ให้แก่คู่สมรสตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ
# บัญชี 44 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ให้แก่คู่สมรสกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน
=== กรณีข้าราชการพลเรือน ===
การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ให้แก่ข้าราชการพลเรือน ต้องมีระยะเวลาในการรับราชการมาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี ก่อนถึงวันพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษาของปีที่จะขอไม่น้อยกว่า 60 วัน โดยมีแนวทางยึดตามระดับตำแหน่ง ดังนี้<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2552/E/155/1.PDF ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2552]</ref>
การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ให้แก่ข้าราชการพลเรือน ต้องมีระยะเวลาในการรับราชการมาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี ก่อนถึงวันพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษาของปีที่จะขอไม่น้อยกว่า 60 วัน โดยมีแนวทางยึดตามระดับตำแหน่ง ดังนี้<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2552/E/155/1.PDF ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2552]</ref>


==== ประเภททั่วไป ====
==== ประเภททั่วไป ====
* '''ระดับปฏิบัติงาน''' เริ่มขอ บ.ม. ถึง จ.ช.
* '''ระดับปฏิบัติงาน''' เริ่มขอ บ.ม. ถึง จ.ช.
* '''ระดับชำนาญงาน''' เริ่มขอ ต.ม. (ดำรงตำแหน่งมาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี ขอ ต.ช.)
* '''ระดับชำนาญงาน''' เริ่มขอ ต.ม. ดำรงตำแหน่งมาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปีบริบูรณ์ ขอ ต.ช.
* '''ระดับอาวุโส''' เริ่มขอ ท.ม. (ดำรงตำแหน่งมาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี ขอ ท.ช.)
* '''ระดับอาวุโส''' เริ่มขอ ท.ม. ดำรงตำแหน่งมาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปีบริบูรณ์ ขอ ท.ช.
* '''ระดับทักษะพิเศษ''' ได้ ท.ช. มาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปี ขอ ป.ม. - ได้ ป.ม. มาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปี ขอ ป.ช. - ได้ ป.ช. มาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี ขอ ม.ว.ม. (ในปีที่เกษียณอายุราชการขอพระราชทานได้อีก 1 ชั้นตรา แต่ไม่เกิน ป.ช.)
* '''ระดับทักษะพิเศษ''' ได้ ท.ช. มาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปีบริบูรณ์ ขอ ป.ม. - ได้ ป.ม. มาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปีบริบูรณ์ ขอ ป.ช.


==== ประเภทวิชาการ ====
==== ประเภทวิชาการ ====
* '''ระดับปฏิบัติการ''' เริ่มขอ ต.ม.
* '''ระดับปฏิบัติการ''' เริ่มขอ ต.ม.
* '''ระดับชำนาญการ''' เริ่มขอ ต.ช. (ได้รับเงินเดือนไม่ต่ำกว่าขั้นต่ำของระดับชำนาญการพิเศษ ขอ ท.ม.- ได้รับเงินเดือนไม่ต่ำกว่าขั้นต่ำของระดับชำนาญการพิเศษมาแล้ว 5 ปี ขอ ท.ช.)
* '''ระดับชำนาญการ''' เริ่มขอ ต.ช. ได้รับเงินเดือนไม่ต่ำกว่าขั้นต่ำของระดับชำนาญการพิเศษ ขอ ท.ม.- ได้รับเงินเดือนไม่ต่ำกว่าขั้นต่ำของระดับชำนาญการพิเศษมาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปีบริบูรณ์ ขอ ท.ช.
* '''ระดับชำนาญการพิเศษ''' เริ่มขอ ท.ช. (ได้รับเงินเดือนเต็มขั้น 58,390 บาท และได้ ท.ช. มาแล้ว 5 ปี ขอ ป.ม.)
* '''ระดับชำนาญการพิเศษ''' เริ่มขอ ท.ช. ได้รับเงินเดือนขั้นสูงได้ ท.ช. มาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปีบริบูรณ์ ขอ ป.ม.
* '''ระดับเชี่ยวชาญ''' ได้ ท.ช. มาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปี ขอ ป.ม. - ได้ ป.ม. มาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปี ขอ ป.ช. - ได้ ป.ช. มาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี ขอ ม.ว.ม. (ในปีที่เกษียณอายุราชการขอพระราชทานได้อีก 1 ชั้นตรา แต่ไม่เกิน ป.ช. เว้นกรณีลาออก)
* '''ระดับเชี่ยวชาญ''' ได้ ท.ช. มาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปีบริบูรณ์ ขอ ป.ม. - ได้ ป.ม. มาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปีบริบูรณ์ ขอ ป.ช.
* '''ระดับทรงคุณวุฒิ'''ที่ได้รับเงินประจำตำแหน่ง 13,000 บาท เลื่อนชั้นตราตามลำดับได้ทุกปีจนถึง ป.ม. ได้ ป.ม. มาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปี ขอ ป.ช. - ได้ ป.ช. มาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปี ขอ ม.ว.ม. - ได้ ม.ว.ม. มาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี ขอ ม.ป.ช. (ในปีที่เกษียณอายุราชการขอพระราชทานได้อีก 1 ชั้นตรา แต่ไม่เกิน ม.ว.ม. เว้นกรณีลาออก)
* '''ระดับทรงคุณวุฒิ'''ที่ได้รับเงินประจำตำแหน่ง 13,000 บาท เลื่อนชั้นตราตามลำดับได้ทุกปีจนถึง ป.ม. ได้ ป.ม. มาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปีบริบูรณ์ ขอ ป.ช. - ได้ ป.ช. มาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปีบริบูรณ์ ขอ ม.ว.ม. - ได้ ม.ว.ม. มาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปีบริบูรณ์ ขอ ม.ป.ช.
* '''ระดับทรงคุณวุฒิ'''ที่ได้รับเงินประจำตำแหน่ง 15,600 บาท ได้ ป.ม. มาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปี ขอ ป.ช. - ได้ ป.ช. มาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปี ขอ ม.ว.ม. - ได้ ม.ว.ม. มาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี ขอ ม.ป.ช. (ในปีที่เกษียณอายุราชการขอพระราชทานได้อีก 1 ชั้นตรา เว้นกรณีลาออก)
* '''ระดับทรงคุณวุฒิ'''ที่ได้รับเงินประจำตำแหน่ง 15,600 บาท ได้ ป.ม. มาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปีบริบูรณ์ ขอ ป.ช. - ได้ ป.ช. มาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปีบริบูรณ์ ขอ ม.ว.ม. - ได้ ม.ว.ม. มาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปีบริบูรณ์ ขอ ม.ป.ช.


==== ประเภทอำนวยการ ====
==== ประเภทอำนวยการ ====
* '''ระดับต้น''' เริ่มขอ ท.ช. (ได้รับเงินเดือนขั้นสูงและได้ ท.ช. มาแล้ว 3 ปี ขอ ป.ม.)
* '''ระดับต้น''' เริ่มขอ ท.ช. ได้รับเงินเดือนขั้นสูงและได้ ท.ช. มาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปีบริบูรณ์ ขอ ป.ม.
* '''ระดับสูง''' ได้ ท.ช. มาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปี ขอ ป.ม. - ได้ ป.ม. มาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปี ขอ ป.ช. - ได้ ป.ช. มาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี ขอ ม.ว.ม. (ในปีที่เกษียณอายุราชการขอพระราชทานได้อีก 1 ชั้นตรา แต่ไม่เกิน ป.ช. เว้นกรณีลาออก)
* '''ระดับสูง''' ได้ ท.ช. มาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปีบริบูรณ์ ขอ ป.ม. - ได้ ป.ม. มาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปีบริบูรณ์ ขอ ป.ช. - ได้ ป.ช. มาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปีบริบูรณ์ ขอ ม.ว.ม.


==== ประเภทบริหาร ====
==== ประเภทบริหาร ====
* '''ระดับต้น''' ได้ ท.ช. มาแล้ว 3 ปี ขอ ป.ม. - ได้ ป.ม. มาแล้ว 3 ปี ขอ ป.ช. - ได้ ป.ช. มาแล้ว 5 ปี ขอ ม.ว.ม. (ในปีที่เกษียณอายุราชการขอพระราชทานได้อีก 1 ชั้นตรา แต่ไม่เกิน ป.ช. เว้นกรณีลาออก)
* '''ระดับต้น''' ได้ ท.ช. มาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปีบริบูรณ์ ขอ ป.ม. - ได้ ป.ม. มาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปีบริบูรณ์ ขอ ป.ช. - ได้ ป.ช. มาแล้วไม่น้อย 5 ปีบริบูรณ์ ขอ ม.ว.ม.
* '''ระดับสูง'''ที่ได้รับเงินประจำตำแหน่ง 14,500 บาท เลื่อนชั้นตราตามลำดับได้ทุกปีจนถึง ป.ม. ได้ ป.ม. มาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปี ขอ ป.ช. - ได้ ป.ช. มาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปี ขอ ม.ว.ม. - ได้ ม.ว.ม. มาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี ขอ ม.ป.ช. (ในปีที่เกษียณอายุราชการขอพระราชทานได้อีก 1 ชั้นตรา แต่ไม่เกิน ม.ว.ม. เว้นกรณีลาออก)
* '''ระดับสูง''' ที่ได้รับเงินประจำตำแหน่ง 14,500 บาท เลื่อนชั้นตราตามลำดับได้ทุกปีจนถึง ป.ม. ได้ ป.ม. มาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปีบริบูรณ์ ขอ ป.ช. - ได้ ป.ช. มาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปีบริบูรณ์ ขอ ม.ว.ม. - ได้ ม.ว.ม. มาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปีบริบูรณ์ ขอ ม.ป.ช.
* '''ระดับสูง'''ที่ได้รับเงินประจำตำแหน่ง 21,000 บาท ได้ ป.ม. มาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปี ขอ ป.ช. - ได้ ป.ช. มาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปี ขอ ม.ว.ม. - ได้ ม.ว.ม. มาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปี ขอ ม.ป.ช. (ในปีที่เกษียณอายุราชการขอพระราชทานได้อีก 1 ชั้นตรา เว้นกรณีลาออก)
* '''ระดับสูง''' ที่ได้รับเงินประจำตำแหน่ง 21,000 บาท ได้ ป.ม. มาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปีบริบูรณ์ ขอ ป.ช. - ได้ ป.ช. มาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปีบริบูรณ์ ขอ ม.ว.ม. - ได้ ม.ว.ม. มาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปีบริบูรณ์ ขอ ม.ป.ช.
* '''ระดับสูง''' ที่ได้รับเงินประจำตำแหน่ง 21,000 บาท ดำรงตำแหน่งปลัดกระทรวง, หัวหน้าส่วนราชการที่มีฐานะเป็นกรมขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี หรือตำแหน่งเทียบเท่า เริ่มต้นขอพระราชทาน ป.ม. - ได้ ป.ม. มาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปีบริบูรณ์ ขอ ป.ช. - ได้ ป.ช. มาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปีบริบูรณ์ ขอ ม.ว.ม. - ได้ ม.ว.ม. มาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปีบริบูรณ์ ขอ ม.ป.ช.

=== กรณีข้าราชการทหาร ===
การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ให้แก่ข้าราชการทหาร สำหรับข้าราชการทหารชั้นประทวน เริ่มขอเหรียญเงินช้างเผือก (ร.ง.ช.) ที่ชั้นยศ สิบโท จ่าโท จ่าอากาศโท สำหรับชั้นสัญญาบัตร เริ่มขอเบญจมาภรณ์ช้างเผือก (บ.ช.) ที่ชั้นยศร้อยตรี เรือตรี เรืออากาศตรี เมื่อดำรงตำแหน่งมาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี

=== กรณีข้าราชการการเมืองในกรุงเทพมหานคร ===
<!--[http://203.155.220.217/pdd/rules/rules_08_3.htm]-->

=== กรณีข้าราชการอัยการ ===

=== กรณีข้าราชการตุลาการ ===


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:56, 18 ตุลาคม 2564

เครื่องราชอิสริยาภรณ์
อันเป็นที่เชิดชูยิ่ง
ช้างเผือก

เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก
 ชั้นสูงสุด มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก
มอบโดย

พระมหากษัตริย์ไทย
อักษรย่อดูในบทความ
ประเภทสายสะพายพร้อมดารา, ดวงตราพร้อมดารา, ดวงตรา, เหรียญทอง, เหรียญเงิน (8 ชั้น)
วันสถาปนาพ.ศ. 2404
ประเทศไทย ราชอาณาจักรไทย
จำนวนสำรับไม่จำกัดจำนวน
ผู้สมควรได้รับพระบรมวงศานุวงศ์, ข้าราชการ, ผู้กระทำคุณความดี ทั้งบุรุษและสตรี
มอบเพื่อผู้กระทำความดีความชอบเป็นประโยชน์แก่ราชการหรือสาธารณชน
สถานะยังพระราชทานอยู่
ผู้สถาปนาพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
ประธานพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว
ลำดับเกียรติ
สูงกว่าเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดี
รองมาเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย
หมายเหตุรัฐบาลไทยเป็นผู้เสนอชื่อเพื่อขอรับพระราชทานจากพระมหากษัตริย์

เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก (อังกฤษ: The Most Exalted Order of the White Elephant) เป็นตระกูลเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย หนึ่งใน 8 ตระกูลที่สำหรับพระราชทานแด่พระบรมวงศานุวงศ์ ข้าราชการ และผู้กระทำคุณความดี ทั้งบุรุษและสตรี โดยเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกนี้สำหรับพระราชทานแก่ผู้กระทำความดีความชอบเป็นประโยชน์แก่ราชการหรือสาธารณชน โดยการพิจารณาเสนอขอพระราชทานของรัฐบาล เพื่อเป็นบำเหน็จความชอบและเครื่องหมายเชิดชูเกียรติยศอย่างสูงแก่ผู้ได้รับพระราชทาน พระราชทานทั้งบุรุษและสตรี หากทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แล้ว ให้ประกาศรายนามในราชกิจจานุเบกษา ปกติแล้วจะประกาศในวันเฉลิมพระชนมพรรษา 28 กรกฎาคม ของทุกปี

ประวัติ

เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกนี้ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาให้สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2404 แต่มิได้กำหนดให้มีสายสะพาย ต่อมาในปี พ.ศ. 2412 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงกำหนดชั้นและสายสะพายประกอบ

ประเภท ลำดับชั้น และลำดับเกียรติ

แพรแถบย่อ ดุมเสื้อ ชั้น ชื่อ[1] อักษรย่อ ชื่อเดิม[2] วันสถาปนา ลำดับเกียรติ[3]
ชั้นสูงสุด มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก ม.ป.ช. - 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2452 8
ชั้นที่ 1 ประถมาภรณ์ช้างเผือก ป.ช. มหาวราภรณ์ พ.ศ. 2412 10
ชั้นที่ 2 ทวีติยาภรณ์ช้างเผือก ท.ช. จุลวราภรณ์ พ.ศ. 2412 15
ชั้นที่ 3 ตริตาภรณ์ช้างเผือก ต.ช. นิภาภรณ์ พ.ศ. 2412 23
ชั้นที่ 4 จัตุรถาภรณ์ช้างเผือก จ.ช. ภูษนาภรณ์ พ.ศ. 2412 28
ชั้นที่ 5 เบญจมาภรณ์ช้างเผือก บ.ช. ทิพยาภรณ์ พ.ศ. 2416 33
ไม่มี ชั้นที่ 6 เหรียญทองช้างเผือก ร.ท.ช. - 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2445 52[4]
ชั้นที่ 7 เหรียญเงินช้างเผือก ร.ง.ช. - 55[4]

ลักษณะ

เครื่องราชอิสริยาภรณ์ตระกูลนี้มีทั้งหมด 8 ชั้น

  1. ดวงตรา ด้านหน้าเป็นรูปช้างไอราพตลงยาสีขาวอยู่บนพื้นทองในดอกบัวบาน กลีบลงยาสีชมพูสลับแดง เกสรเงิน รอบนอกมีกระจังทองลงยาสีเขียวสี่ทิศ มีรัศมีเปลวเงินตามระหว่าง ด้านหลังเปลี่ยนรูปช้างเป็นอักษรพระปรมาภิไธยย่อ ม.ป.ร. ลงยาสีแดง เบื้องบนมีอุณาโลมเงินและพระมหามงกุฎทองมีรัศมี
  2. สายสะพาย เป็นแพรแถบขนาดกว้าง 10 เซนติเมตร สีแดงริมเขียว มีริ้วเหลืองและน้ำเงินขนาดเล็กควบคั่นทั้ง 2 ข้าง สะพายบ่าซ้ายเฉียงลงทางขวา
  3. ดารา ด้านหน้ามีลักษณะเช่นเดียวกับดวงตราแต่ขนาดย่อมกว่า ซ้อนอยู่บนรัศมีสีเงิน จำหลักเป็นเพชรสร่ง 4 แฉก รัศมีทอง 4 แฉก ประดับที่อกเสื้อด้านซ้าย

ดวงตรา ดารา และสายสะพายสำหรับพระราชทานสตรีนั้นจะมีขนาดย่อมกว่าบุรุษ นอกจากนี้ ยังมีเครื่องหมายประดับแพรแถบย่อและดุมเสื้อ มีลักษณะเป็นรูปช้างไอราพตลงยาสีขาว

หมายเหตุ: สำหรับพระมหากษัตริย์ ดาราประดับเพชรตรงขอบสร่งเงิน

  • ชั้นที่ 1 ประถมาภรณ์ช้างเผือก 1 สำรับ ประกอบด้วย
  1. ดวงตรา ด้านหน้าเป็นรูปช้างเผือกทรงเครื่องยืนแท่นอยู่บนพื้นทองในดอกบัวบาน กลีบลงยาสีแดง เกสรเงิน รอบนอกมีกระจังเงิน 8 ทิศ มีกระจังแทรกตามระหว่าง ด้านหลังเปลี่ยนรูปช้างเป็นอักษรพระปรมาภิไธยย่อ ม.ป.ร. ลงยาสีแดง เบื้องบนมีพระมหามงกุฎทองมีรัศมี
  2. สายสะพาย เป็นแพรแถบขนาดกว้าง 10 เซนติเมตร สีแดงริมเขียวใหญ่ มีริ้วเหลืองและน้ำเงินขนาดใหญ่ควบคั่นทั้ง 2 ข้าง สำหรับสะพายบ่าขวาเฉียงลงทางซ้าย
  3. ดารา ด้านหน้ามีลักษณะเช่นเดียวกับดวงตราแต่กระจังยาวกว่า ด้านหลังเป็นทอง สำหรับประดับอกเสื้อเบื้องซ้าย

ดวงตรา ดารา และสายสะพายสำหรับพระราชทานสตรีนั้นจะมีขนาดย่อมกว่าบุรุษ นอกจากนี้ ยังมีเครื่องหมายประดับแพรแถบย่อและดุมเสื้อ มีลักษณะเป็นรูปช้างเผือกทรงเครื่องยืนแท่นอยู่ในดอกบัวบาน กลีบลงยาสีแดงสลับเขียว เกสรเงิน

  • ชั้นที่ 2 ทวีติยาภรณ์ช้างเผือก 1 สำรับ ประกอบด้วย
  1. ดวงตรา มีลักษณะเช่นเดียวกับชั้นประถมาภรณ์ แต่ขนาดย่อมกว่า และที่พระมหามงกุฎไม่มีรัศมี ด้านหลังเป็นทองเกลี้ยง ใช้ห้อยกับแพรแถบขนาดกว้าง 4 เซนติเมตร สำหรับบุรุษใช้สวมคอ ส่วนดวงตราสำหรับพระราชทานสตรีนั้น มีลักษณะเช่นเดียวกับบุรุษแต่ขนาดย่อมกว่า ใช้ห้อยกับแพรแถบผูกเป็นรูปแมลงปอ สำหรับประดับเสื้อที่หน้าบ่าซ้าย
  2. ดารา มีลักษณะเช่นเดียวกับชั้นประถมาภรณ์ สำหรับประดับอกเสื้อเบื้องซ้าย ส่วนดาราสำหรับพระราชทานสตรีนั้น มีลักษณะเช่นเดียวกับบุรุษแต่ขนาดย่อมกว่า

นอกจากนี้ ยังมีเครื่องหมายประดับแพรแถบย่อและดุมเสื้อ มีลักษณะเป็นรูปช้างเผือกทรงเครื่องยืนแท่นอยู่ในดอกบัวบานทอง เกสรเงิน

  • ชั้นที่ 3 ตริตาภรณ์ช้างเผือก

สำหรับบุรุษห้อยแพรแถบสวมคอ สำหรับสตรีห้อยแพรแถบผูก เป็นรูปแมลงปอประดับเสื้อหน้าบ่าซ้าย

  • ชั้นที่ 4 จัตุรถาภรณ์ช้างเผือก

สำหรับบุรุษห้อยแพรแถบประดับอกเสื้อเบื้องซ้าย สำหรับสตรีห้อย แพรแถบผูกเป็นรูปแมลงปอประดับเสื้อหน้าบ่าซ้าย ดวงตราชั้นที่ 4 เล็กกว่าดวงตราชั้นที่ 3 และมีดอกไม้จีบติดบนแพรแถบ

  • ชั้นที่ 5 เบญจมาภรณ์ช้างเผือก

ดวงตราชั้นที่ 5 เหมือนดวงตราชั้นที่ 4 แต่ไม่มีดอกไม้จีบติดบน แพรแถบวิธีประดับเหมือนชั้นที่ 4

  • ชั้นที่ 6 เหรียญทอง (ร.ท.ช.) วิธีประดับเหมือนชั้นที่ 4
  • ชั้นที่ 7 เหรียญเงิน (ร.ง.ช.) วิธีประดับเหมือนชั้นที่ 4

ต่อมาระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 ข้าราชการสตรีต้องประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ์และเหรียญแพรแถบในลักษณะเดียวกับบุรุษทุกประการ[5]

การขอพระราชทาน

การเสนอขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ในตระกูลช้างเผือกนี้ กำหนดให้พิจารณาถึงตำแหน่ง ระดับ ชั้น ชั้นยศ กำหนดระยะเวลา และความดีความชอบ ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก และเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย พ.ศ. 2536 การขอพระราชทานในครั้งแรกในกรณีข้าราชการ จะต้องรับราชการมาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปีบริบูรณ์ นับแต่วันเริ่มเข้ารับราชการจนถึงวันที่ 5 ตุลาคม ของปี โดยให้เริ่มจากเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย และเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกสลับกัน ดังนี้

ไฟล์:พระราชลัญจกร-ช้างเผือก.jpg
พระราชลัญจกรประจำเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก
  1. ชั้นที่ 7 เหรียญเงินมงกุฎไทย
  2. ชั้นที่ 7 เหรียญเงินช้างเผือก
  3. ชั้นที่ 6 เหรียญทองมงกุฎไทย
  4. ชั้นที่ 6 เหรียญทองช้างเผือก

ชั้นต่ำกว่าสายสะพาย ในกรณีข้าราชการเริ่มที่

  1. ชั้นที่ 5 เบญจมาภรณ์มงกุฎไทย
  2. ชั้นที่ 5 เบญจมาภรณ์ช้างเผือก
  3. ชั้นที่ 4 จัตุรถาภรณ์มงกุฎไทย
  4. ชั้นที่ 4 จัตุรถาภรณ์ช้างเผือก
  5. ชั้นที่ 3 ตริตาภรณ์มงกุฎไทย
  6. ชั้นที่ 3 ตริตาภรณ์ช้างเผือก
  7. ชั้นที่ 2 ทวีติยาภรณ์มงกุฎไทย
  8. ชั้นที่ 2 ทวีติยาภรณ์ช้างเผือก

ชั้นสายสะพาย หรือ ข้าราชการที่มีบรรดาศักดิ์ สามารถขอรับพระราชทานโกศประดับเมื่อสิ้นชีวิต

  1. ชั้นที่ 1 ประถมาภรณ์มงกุฎไทย (สายสะพาย 1)
  2. ชั้นที่ 1 ประถมาภรณ์ช้างเผือก (สายสะพาย 2)
  3. ชั้นสูงสุด มหาวชิรมงกุฎ (สายสะพาย 3)
  4. ชั้นสูงสุด มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (สายสะพาย 4)

การพิจารณาเสนอขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่ง

ตัวอย่างของประกาศนียบัตรสำหรับผู้ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกในอดีต ในที่นี้ เป็นประกาศนียบัตรของศาสตรจารย์กาลิเลโอ คินี จิตรกรชาวอิตาลีผู้วาดภาพจิตรกรรมประดับโดมเพดานของพระที่นั่งอนันตสมาคม ซึ่งได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นที่ 3 นิภาภรณ์ จากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2456

การเสนอขอเครื่องราชอิสริยาภรณ์ มีทั้งหมด 32 บัญชี

  1. บัญชี 1 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ให้แก่รัฐมนตรี
  2. บัญชี 2 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ให้แก่ข้าราชการการเมือง ผู้ช่วยรัฐมนตรี ผู้แทนการค้าไทย กรรมการประสานงานสภาผู้แทนราษฎร และกรรมการประสานงานวุฒิสภา
  3. บัญชี 3 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ให้แก่ผู้ดำรงตำแหน่งในรัฐสภา
  4. บัญชี 4 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ให้แก่ข้าราชการการเมืองในกรุงเทพมหานคร
  5. บัญชี 5 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ให้แก่สมาชิกสภากรุงเทพมหานครและสมาชิกสภาเขตกรุงเทพมหานคร
  6. บัญชี 6 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ให้แก่ผู้บริหารท้องถิ่น สมาชิกสภาท้องถิ่นและผู้ปฏิบัติงานในหน่วยงานตามกฎหมายจัดตั้งองค์กรส่วนท้องถิ่น
  7. บัญชี 7 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ให้แก่ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ
  8. บัญชี 8 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ให้แก่กรรมการการเลือกตั้ง
  9. บัญชี 9 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ให้แก่ผู้ตรวจการแผ่นดิน
  10. บัญชี 10 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ให้แก่กรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
  11. บัญชี 11 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ให้แก่กรรมการตรวจเงินแผ่นดินและผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน
  12. บัญชี 12 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ให้แก่กรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
  13. บัญชี 13 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ให้แก่กรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ
  14. บัญชี 14 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ให้แก่ราชบัณฑิต และกรรมการตามกฎหมายที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งตั้ง
  15. บัญชี 15 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ให้แก่ข้าราชการ ยกเว้นที่ปรากฏในบัญชีอื่น
  16. บัญชี 16 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ให้แก่ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่งที่มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
  17. บัญชี 17 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ให้แก่ข้าราชการและพนักงานส่วนท้องถิ่น
  18. บัญชี 18 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ให้แก่ข้าราชการทหาร
  19. บัญชี 19 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ให้แก่ข้าราชการตำรวจ
  20. บัญชี 20 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ให้แก่ข้าราชการตุลาการศาลยุติธรรม
  21. บัญชี 21 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ให้แก่ข้าราชการตุลาการศาลปกครอง
  22. บัญชี 22 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ให้แก่ดะโต๊ะยุติธรรม และผู้พิพากษาสมทบ
  23. บัญชี 23 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ให้แก่ข้าราชการอัยการ
  24. บัญชี 24 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ให้แก่ผู้ปฏิบัติงานตามกฎหมายว่าด้วยลักษณะปกครองท้องที่
  25. บัญชี 25 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ให้แก่ลูกจ้างประจำของส่วนราชการ
  26. บัญชี 26 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ให้แก่พนักงานราชการ
  27. บัญชี 27 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ให้แก่พนักงานรัฐวิสาหกิจ เจ้าหน้าที่องค์การมหาชน พนักงานองค์การของรัฐ หรือพนักงานหน่วยงานอื่นของรัฐที่มีลักษณะอย่างเดียวกัน ยกเว้นที่ปรากฏในบัญชีอื่น
  28. บัญชี 28 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ให้แก่ผู้ดำรงตำแหน่งในหน่วยธุรการขององค์กรอิสระตามกฎหมายที่ไม่เป็นข้าราขการ
  29. บัญชี 29 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ให้แก่ผู้ดำรงตำแหน่งในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐที่ไม่เป็นข้าราชการ
  30. บัญชี 30 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ให้แก่เจ้าหน้าที่สภากาชาดไทย
  31. บัญชี 31 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ให้แก่ผู้มีผลงานความดีความชอบอย่างยิ่ง
  32. บัญชี 32 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ให้แก่ผู้แทนทางการทูตของต่างประเทศและชาวต่างประเทศ

ตัวอย่างการขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์

กรณีข้าราชการพลเรือน

การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ให้แก่ข้าราชการพลเรือน ต้องมีระยะเวลาในการรับราชการมาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี ก่อนถึงวันพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษาของปีที่จะขอไม่น้อยกว่า 60 วัน โดยมีแนวทางยึดตามระดับตำแหน่ง ดังนี้[6]

ประเภททั่วไป

  • ระดับปฏิบัติงาน เริ่มขอ บ.ม. ถึง จ.ช.
  • ระดับชำนาญงาน เริ่มขอ ต.ม. ดำรงตำแหน่งมาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปีบริบูรณ์ ขอ ต.ช.
  • ระดับอาวุโส เริ่มขอ ท.ม. ดำรงตำแหน่งมาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปีบริบูรณ์ ขอ ท.ช.
  • ระดับทักษะพิเศษ ได้ ท.ช. มาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปีบริบูรณ์ ขอ ป.ม. - ได้ ป.ม. มาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปีบริบูรณ์ ขอ ป.ช.

ประเภทวิชาการ

  • ระดับปฏิบัติการ เริ่มขอ ต.ม.
  • ระดับชำนาญการ เริ่มขอ ต.ช. ได้รับเงินเดือนไม่ต่ำกว่าขั้นต่ำของระดับชำนาญการพิเศษ ขอ ท.ม.- ได้รับเงินเดือนไม่ต่ำกว่าขั้นต่ำของระดับชำนาญการพิเศษมาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปีบริบูรณ์ ขอ ท.ช.
  • ระดับชำนาญการพิเศษ เริ่มขอ ท.ช. ได้รับเงินเดือนขั้นสูงได้ ท.ช. มาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปีบริบูรณ์ ขอ ป.ม.
  • ระดับเชี่ยวชาญ ได้ ท.ช. มาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปีบริบูรณ์ ขอ ป.ม. - ได้ ป.ม. มาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปีบริบูรณ์ ขอ ป.ช.
  • ระดับทรงคุณวุฒิที่ได้รับเงินประจำตำแหน่ง 13,000 บาท เลื่อนชั้นตราตามลำดับได้ทุกปีจนถึง ป.ม. ได้ ป.ม. มาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปีบริบูรณ์ ขอ ป.ช. - ได้ ป.ช. มาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปีบริบูรณ์ ขอ ม.ว.ม. - ได้ ม.ว.ม. มาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปีบริบูรณ์ ขอ ม.ป.ช.
  • ระดับทรงคุณวุฒิที่ได้รับเงินประจำตำแหน่ง 15,600 บาท ได้ ป.ม. มาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปีบริบูรณ์ ขอ ป.ช. - ได้ ป.ช. มาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปีบริบูรณ์ ขอ ม.ว.ม. - ได้ ม.ว.ม. มาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปีบริบูรณ์ ขอ ม.ป.ช.

ประเภทอำนวยการ

  • ระดับต้น เริ่มขอ ท.ช. ได้รับเงินเดือนขั้นสูงและได้ ท.ช. มาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปีบริบูรณ์ ขอ ป.ม.
  • ระดับสูง ได้ ท.ช. มาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปีบริบูรณ์ ขอ ป.ม. - ได้ ป.ม. มาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปีบริบูรณ์ ขอ ป.ช. - ได้ ป.ช. มาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปีบริบูรณ์ ขอ ม.ว.ม.

ประเภทบริหาร

  • ระดับต้น ได้ ท.ช. มาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปีบริบูรณ์ ขอ ป.ม. - ได้ ป.ม. มาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปีบริบูรณ์ ขอ ป.ช. - ได้ ป.ช. มาแล้วไม่น้อย 5 ปีบริบูรณ์ ขอ ม.ว.ม.
  • ระดับสูง ที่ได้รับเงินประจำตำแหน่ง 14,500 บาท เลื่อนชั้นตราตามลำดับได้ทุกปีจนถึง ป.ม. ได้ ป.ม. มาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปีบริบูรณ์ ขอ ป.ช. - ได้ ป.ช. มาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปีบริบูรณ์ ขอ ม.ว.ม. - ได้ ม.ว.ม. มาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปีบริบูรณ์ ขอ ม.ป.ช.
  • ระดับสูง ที่ได้รับเงินประจำตำแหน่ง 21,000 บาท ได้ ป.ม. มาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปีบริบูรณ์ ขอ ป.ช. - ได้ ป.ช. มาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปีบริบูรณ์ ขอ ม.ว.ม. - ได้ ม.ว.ม. มาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปีบริบูรณ์ ขอ ม.ป.ช.
  • ระดับสูง ที่ได้รับเงินประจำตำแหน่ง 21,000 บาท ดำรงตำแหน่งปลัดกระทรวง, หัวหน้าส่วนราชการที่มีฐานะเป็นกรมขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี หรือตำแหน่งเทียบเท่า เริ่มต้นขอพระราชทาน ป.ม. - ได้ ป.ม. มาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปีบริบูรณ์ ขอ ป.ช. - ได้ ป.ช. มาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปีบริบูรณ์ ขอ ม.ว.ม. - ได้ ม.ว.ม. มาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปีบริบูรณ์ ขอ ม.ป.ช.

อ้างอิง

  1. ราชกิจจานุเบกษา, พระราชบัญญัติเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก พ.ศ. ๒๔๘๔, เล่ม ๕๘, ตอน ๐ ก, ๑๒ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๘๔, หน้า ๑๕๖๖
  2. ราชกิจจานุเบกษา, พระราชบัญญัติเครื่องราชอิสริยาภรณ์ช้างเผือก รัตนโกสินทร์ ศก๑๒๘, เล่ม ๒๖, ตอน ๐ ก, ๒๘ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๕๒, หน้า ๗๐
  3. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง ลำดับเกียรติเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย, เล่ม ๑๑๐, ตอน ๒๙ง ฉบับพิเศษ, ๑๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๓๖, หน้า ๑
  4. 4.0 4.1 "ลำดับเกียรติเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-06-01. สืบค้นเมื่อ 2015-04-05. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่สมเหตุสมผล มีนิยามชื่อ "ลำดับเกียรติ" หลายครั้งด้วยเนื้อหาต่างกัน
  5. ราชกิจจานุเบกษา, ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย (ฉบับที่ ๒) ๒๕๖๒[ลิงก์เสีย],ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๑๖๖ ง หน้า ๑ วันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๖๒.
  6. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2552

แหล่งข้อมูลอื่น