ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กรดคาร์บอนิก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pramook (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
YurikBot (คุย | ส่วนร่วม)
robot Adding: ru
บรรทัด 64: บรรทัด 64:
[[Category:คาร์บอเนต]]
[[Category:คาร์บอเนต]]


[[en:Carbonic acid]]
[[cs:Kyselina uhličitá]]
[[da:Kulsyre]]
[[da:Kulsyre]]
[[cs:Kyselina_uhli%C4%8Dit%C3%A1]]
[[de:Kohlensäure]]
[[de:Kohlensäure]]
[[es:Ácido carbónico]]
[[en:Carbonic acid]]
[[eo:Karbonata acido]]
[[eo:Karbonata acido]]
[[es:Ácido carbónico]]
[[fr:Acide carbonique]]
[[fr:Acide carbonique]]
[[it:Acido carbonico]]
[[it:Acido carbonico]]
[[ja:炭酸]]
[[ja:炭酸]]
[[lv:Ogļskābe]]
[[lv:Ogļskābe]]
[[nl:Koolzuur]]
[[nds:Kohlensüür]]
[[nds:Kohlensüür]]
[[no:Karbonsyre]]
[[nl:Koolzuur]]
[[nn:Kolsyre]]
[[nn:Kolsyre]]
[[no:Karbonsyre]]
[[pl:Kwas węglowy]]
[[pl:Kwas węglowy]]
[[pt:Ácido_carbônico]]
[[pt:Ácido carbônico]]
[[ru:Угольная кислота]]
[[sv:Kolsyra]]
[[sv:Kolsyra]]
[[zh:碳酸]]
[[zh:碳酸]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 09:16, 6 มกราคม 2549

กรดคาร์บอนิก
Chemical structure
Other names Carbon dioxide solution
สูตรโมเลกุล H2CO3
SMILES C(=O)(O)O
มวลโมเลกุล 62.03 g/mol
เลขทะเบียน CAS 463-79-6
ความหนาแน่น และ เฟส 1.0 g/cm3
(dilute solution)
การละลาย ใน น้ำ exists only in solution
ความเป็นกรด (pKa) 3.60 (see text)
10.25
Disclaimer and references

กรดคาร์บอนิก (อังกฤษ:Carbonic acid) เป็นกรดชนิดหนึ่งที่มีอะตอมของคาร์บอนเป็นส่วนประกอบ มีสูตรโมเลกุล H2CO3 กรดคาร์บอนิกยังใช้เป็นคำเรียกสารละลายของคาร์บอนไดออกไซด์ในน้ำ ซึ่งมี H2CO3 อยู่เล็กน้อย เราเรียกเกลือของกรดคาร์บอนิกว่า ไบคาร์บอเนต (หรือ ไฮโดรเจนคาร์บอเนต) และ คาร์บอเนต

คาร์บอนไดออกไซด์ที่ละลายน้ำเกิดสมดุลเคมีกับกรดคาร์บอนิก ดังสมการต่อนี้

CO2 + H2O → H2CO3

ค่าคงที่สมดุลที่ 25°C เท่ากับ 1.70×10−3: ดังนั้นคาร์บอนไดออกไซด์ส่วนใหญ่จะไม่เปลี่ยนเป็นกรดคาร์บอนิกและยังคงอยู่เป็นโมเลกุล CO2 ถ้าหากไม่มีตัวเร่งปฏิกิริยา สมดุลข้างต้นจะเกิดขึ้นช้า โดยมีอัตราการเกิดปฏิกิริยา (rate constant) เท่ากับ 0.039 s−1 สำหรับขาไป

(CO2 + H2O → H2CO3)

และ 23 s−1 สำหรับปฏิกิริยาย้อนกลับ

(H2CO3 → CO2 + H2O).

สมดุลระหว่างคาร์บอนไดออกไซด์และคาร์บอนิกแอซิด มีความสำคัญมากสำหรับการควบคุมความเป็นกรดของของเหลวในร่างกาย สิ่งมีชีวิตเกือบทุกชนิดมีเอนไซม์ชื่อคาร์บอนิกแอนไฮเดรส เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาระหว่างสารประกอบสองตัวนี้ โดยสามารถเร่งปฏิกิริยาให้เร็วขึ้นถึง 109 เท่า

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

ลิงก์ภายนอก