ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สุขภาพจิต"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ย้อนการแก้ไขที่ 9687398 สร้างโดย 186.143.163.218 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[File:Politischer_Aschermittwoch_06.jpg|thumb|มีความผิดปกติทางอารมณ์ที่ส่งผลต่อผู้ที่ใช้อำนาจในทุกรูปแบบ ซึ่งกลุ่มอาการโอหัง megalomania hamartia หรือการหลงตัวเองมีความโดดเด่น]]
'''สุขภาพจิต'''เป็นระดับความเป็นอยู่ดีทางจิตใจ หรือการปลอดโรคทางจิต เป็น "สถานะทางจิตของบุคคลที่ทำหน้าที่ได้ในระดับการปรับตัวได้ทางอารมณ์และพฤติกรรมที่น่าพอใจ" จากทัศนะ[[จิตวิทยาเชิงบวก]]หรือสัมพฤตินิยม (holism) สุขภาพจิตอาจรวมความสามารถของบุคคลในการมีความสุขกับชีวิต และสร้างสมดุลระหว่างกิจกรรมชีวิตและความพยายามบรรลุความยืดหยุ่นทางจิตวิทยา [[องค์การอนามัยโลก]]ระบุว่า สุขภาพจิตรวม "ความเป็นอยู่ดีอัตวิสัย การก่อผลตนเองที่รับรู้ อัตตาณัติ ความสามารถ การพึ่งระหว่างรุ่นและ[[ความตระหนักในศักยภาพตน]]ในด้านปัญญาและอารมณ์ เป็นต้น"<ref name="WHO">{{cite web|url=http://www.who.int/whr/2001/en/whr01_en.pdf?ua=1|title=The world health report 2001 – Mental Health: New Understanding, New Hope|publisher=WHO |accessdate=4 May 2014}}</ref> องค์การอนามัยโลกยังกล่าวอีกว่า ความเป็นอยู่ดีของปัจเจกบุคคลรวมอยู่ในการตระหนักถึงความสามารถของตน การจัดการกับความเครียดปกติของชีวิต การทำงานและการเข้ามีส่วนร่วมอย่างสร้างสรรค์ต่อชุมชนของพวกเขา<ref name="WHO factsheet">{{cite web|date=August 2014|url=http://www.who.int/mediacentre/factsheets/fs220/en/|title=Mental health: strengthening our response|website=World Health Organization|accessdate=4 May 2014}}</ref> ความแตกต่างทางวัฒนธรรม การประเมินอัตวิสัย และทฤษฎีของมืออาชีพที่ขัดกันล้วนมีผลต่อการนิยาม "สุขภาพจิต" ทั้งสิ้น
'''สุขภาพจิต'''เป็นระดับความเป็นอยู่ดีทางจิตใจ หรือการปลอดโรคทางจิต เป็น "สถานะทางจิตของบุคคลที่ทำหน้าที่ได้ในระดับการปรับตัวได้ทางอารมณ์และพฤติกรรมที่น่าพอใจ" จากทัศนะ[[จิตวิทยาเชิงบวก]]หรือสัมพฤตินิยม (holism) สุขภาพจิตอาจรวมความสามารถของบุคคลในการมีความสุขกับชีวิต และสร้างสมดุลระหว่างกิจกรรมชีวิตและความพยายามบรรลุความยืดหยุ่นทางจิตวิทยา [[องค์การอนามัยโลก]]ระบุว่า สุขภาพจิตรวม "ความเป็นอยู่ดีอัตวิสัย การก่อผลตนเองที่รับรู้ อัตตาณัติ ความสามารถ การพึ่งระหว่างรุ่นและ[[ความตระหนักในศักยภาพตน]]ในด้านปัญญาและอารมณ์ เป็นต้น"<ref name="WHO">{{cite web|url=http://www.who.int/whr/2001/en/whr01_en.pdf?ua=1|title=The world health report 2001 – Mental Health: New Understanding, New Hope|publisher=WHO |accessdate=4 May 2014}}</ref> องค์การอนามัยโลกยังกล่าวอีกว่า ความเป็นอยู่ดีของปัจเจกบุคคลรวมอยู่ในการตระหนักถึงความสามารถของตน การจัดการกับความเครียดปกติของชีวิต การทำงานและการเข้ามีส่วนร่วมอย่างสร้างสรรค์ต่อชุมชนของพวกเขา<ref name="WHO factsheet">{{cite web|date=August 2014|url=http://www.who.int/mediacentre/factsheets/fs220/en/|title=Mental health: strengthening our response|website=World Health Organization|accessdate=4 May 2014}}</ref> ความแตกต่างทางวัฒนธรรม การประเมินอัตวิสัย และทฤษฎีของมืออาชีพที่ขัดกันล้วนมีผลต่อการนิยาม "สุขภาพจิต" ทั้งสิ้น



รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:45, 10 ตุลาคม 2564

สุขภาพจิตเป็นระดับความเป็นอยู่ดีทางจิตใจ หรือการปลอดโรคทางจิต เป็น "สถานะทางจิตของบุคคลที่ทำหน้าที่ได้ในระดับการปรับตัวได้ทางอารมณ์และพฤติกรรมที่น่าพอใจ" จากทัศนะจิตวิทยาเชิงบวกหรือสัมพฤตินิยม (holism) สุขภาพจิตอาจรวมความสามารถของบุคคลในการมีความสุขกับชีวิต และสร้างสมดุลระหว่างกิจกรรมชีวิตและความพยายามบรรลุความยืดหยุ่นทางจิตวิทยา องค์การอนามัยโลกระบุว่า สุขภาพจิตรวม "ความเป็นอยู่ดีอัตวิสัย การก่อผลตนเองที่รับรู้ อัตตาณัติ ความสามารถ การพึ่งระหว่างรุ่นและความตระหนักในศักยภาพตนในด้านปัญญาและอารมณ์ เป็นต้น"[1] องค์การอนามัยโลกยังกล่าวอีกว่า ความเป็นอยู่ดีของปัจเจกบุคคลรวมอยู่ในการตระหนักถึงความสามารถของตน การจัดการกับความเครียดปกติของชีวิต การทำงานและการเข้ามีส่วนร่วมอย่างสร้างสรรค์ต่อชุมชนของพวกเขา[2] ความแตกต่างทางวัฒนธรรม การประเมินอัตวิสัย และทฤษฎีของมืออาชีพที่ขัดกันล้วนมีผลต่อการนิยาม "สุขภาพจิต" ทั้งสิ้น

อ้างอิง

  1. "The world health report 2001 – Mental Health: New Understanding, New Hope" (PDF). WHO. สืบค้นเมื่อ 4 May 2014.
  2. "Mental health: strengthening our response". World Health Organization. August 2014. สืบค้นเมื่อ 4 May 2014.