ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปลาทูน่า"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
ใส่ลิงก์ข้ามภาษาด้วยบอต
บรรทัด 8: บรรทัด 8:
{{โครงสัตว์}}
{{โครงสัตว์}}


[[en:Tuna]]
ปลาทูน่าครีบเหลือง
ปลาทูน่าครีบเหลือง
ชื่อสามัญภาษาอังกฤษ YELLOWFIN TUNA
ชื่อสามัญภาษาอังกฤษ YELLOWFIN TUNA
บรรทัด 20: บรรทัด 19:
ปลาทูน่าครีบเหลืองเป็นปลาที่นิยมรับประทานสด และเป็นวัตถุดิบในการทำปลาทูน่าบรรจุกระป๋องโดยความนิยมรองจากปลาทูน่าครีบยาว โดยปกติเนื้อปลาทูน่าครีบเหลืองจะมีสีแดงแต่เมื่อถูกความร้อนจะกลายเป็นสีขาว เนื้อแน่นไม่ยุ่ยทำให้บรรจุกระป๋องได้ง่าย
ปลาทูน่าครีบเหลืองเป็นปลาที่นิยมรับประทานสด และเป็นวัตถุดิบในการทำปลาทูน่าบรรจุกระป๋องโดยความนิยมรองจากปลาทูน่าครีบยาว โดยปกติเนื้อปลาทูน่าครีบเหลืองจะมีสีแดงแต่เมื่อถูกความร้อนจะกลายเป็นสีขาว เนื้อแน่นไม่ยุ่ยทำให้บรรจุกระป๋องได้ง่าย
การจับปลาทูน่าครีบเหลืองจะจับได้ด้วยเครื่องมือประมงอวนล้อม เบ็ดตวัดปลาทูน่า เบ็ดลาก และอวนลอย ซึ่งสามารถจับปลาทูน่าครีบเหลืองขนาดเล็กและขนาดปานกลาง แต่วิธีทำการประมงที่สำคัญที่สุดในการจับปลาทูน่าครีบเหลืองขนาดใหญ่ ที่อาศัยอยู่ในระดับลึกได้แก่เบ็ดราว ( Tuna Longline )
การจับปลาทูน่าครีบเหลืองจะจับได้ด้วยเครื่องมือประมงอวนล้อม เบ็ดตวัดปลาทูน่า เบ็ดลาก และอวนลอย ซึ่งสามารถจับปลาทูน่าครีบเหลืองขนาดเล็กและขนาดปานกลาง แต่วิธีทำการประมงที่สำคัญที่สุดในการจับปลาทูน่าครีบเหลืองขนาดใหญ่ ที่อาศัยอยู่ในระดับลึกได้แก่เบ็ดราว ( Tuna Longline )

[[af:Tuna]]
[[ar:تونة]]
[[ca:Tonyina]]
[[da:Tun]]
[[de:Thunfische]]
[[en:Tuna]]
[[eo:Tinuso]]
[[es:Thunnus]]
[[fi:Tonnikalat]]
[[fr:Thon]]
[[he:טונה]]
[[ht:Ton]]
[[id:Tuna]]
[[io:Atuno]]
[[is:Túnfiskur]]
[[it:Thunnus]]
[[ja:マグロ]]
[[ko:다랑어]]
[[lt:Paprastieji tunai]]
[[nl:Tonijn]]
[[pl:Tuńczyki]]
[[pt:Atum]]
[[qu:Atun challwa]]
[[ru:Тунцы]]
[[scn:Tunnu]]
[[simple:Tuna]]
[[sv:Tonfisksläktet]]
[[tr:Orkinos]]
[[zh:鮪魚]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:29, 27 กุมภาพันธ์ 2551


ไฟล์:Tuna maguro Yukinobu Shibata.JPG
การจับปลาทูน่าในประเทศญี่ปุ่น

ปลาทูน่า (tuna) เป็นชื่อของปลาทะเลน้ำลึกที่มีอยู่มากมายหลากชนิด


ปลาทูน่าครีบเหลือง ชื่อสามัญภาษาอังกฤษ YELLOWFIN TUNA ชื่อวิทยาศาสตร์ Thunnus albacares (Bonnaterre,1788)


        ปลาทูน่าครีบเหลืองเป็นปลาทูน่าขนาดใหญ่ที่อาศัยอยู่ในมหาสมุทรในเขตร้อนและอบอุ่น ระหว่างละติจูดที่ 40 องศาเหนือ ถึง 40 องศาใต้ ปลาทูน่าครีบเหลืองมักชอบว่ายน้ำตั้งแต่ผิวน้ำจนถึงความลึกประมาณ 300 เมตร ในระดับอุณหภูมิ 18-31 องศาเซลเซียส
        ลักษณะพิเศษที่เห็นได้ชัดคือ ความกว้างที่สุดของลำตัวปลาอยู่บริเวณกึ่งกลางของครีบหลังอันแรก ครีบหลังอันแรกแยกออกจากครีบหลังอันที่สองอย่างชัดเจน ครีบหูมีความยาวถึงกึ่งกลางของฐานครีบหลังอันที่สองในปลาทูน่าขนาดใหญ่ ครีบหลังอันที่สองและครีบก้นมีขนาดยาวมาก (ยาวกว่าความยาวของครีบหลัง 20% ) เมื่อผ่าท้องออกดูจะพบว่าด้านล่างของตับจะไม่ลาย
        ด้านหลังเป็นสีน้ำเงินดำ แล้วค่อยๆ เปลี่ยนเป็นสีเหลือง และสีน้ำเงินด้านล่างของลำตัว ปลาทูน่าครีบเหลืองขนาดใหญ่ขนาดใหญ่จะพบจุดสีเข้มเป็นแถวตามแนวดิ่งประมาณ 20 แถว ครีบหลังและครีบก้นมีสีเหลืองสด มีครีบเล็กสีเหลืองจำนวน 7-10 คู่ และที่ปลายของครีบเล็กจะเป็นสีดำ
        ขนาดของปลาทูน่าครีบเหลืองที่พบใหญ่ที่สุด มีความยาวมากกว่า 2 เมตร (วัดจากปากถึงเว้าครีบหาง) แต่ที่พบทั่วไปมีขนาด ประมาณ 0.5-1.5 เมตร ปลาทูน่าเริ่มเข้าสู่ภาวะโตเต็มวัยเมื่อมีความยาว 50-60 เซนติเมตร และเปอร์เซ็นต์ของปลาที่โตเต็มวัยจะสูงขึ้นเมื่อมีความยาวมากกว่า 70 เซนติเมตร ปลาทูน่าครีบเหลืองทุกตัวจะอยู่ในภาวะโตเต็มวัยเมื่อมีความยาว มากกว่า 120 เซนติเมตร
        ปลาทูน่าครีบเหลืองเป็นปลาที่นิยมรับประทานสด และเป็นวัตถุดิบในการทำปลาทูน่าบรรจุกระป๋องโดยความนิยมรองจากปลาทูน่าครีบยาว โดยปกติเนื้อปลาทูน่าครีบเหลืองจะมีสีแดงแต่เมื่อถูกความร้อนจะกลายเป็นสีขาว เนื้อแน่นไม่ยุ่ยทำให้บรรจุกระป๋องได้ง่าย
        การจับปลาทูน่าครีบเหลืองจะจับได้ด้วยเครื่องมือประมงอวนล้อม เบ็ดตวัดปลาทูน่า เบ็ดลาก และอวนลอย ซึ่งสามารถจับปลาทูน่าครีบเหลืองขนาดเล็กและขนาดปานกลาง แต่วิธีทำการประมงที่สำคัญที่สุดในการจับปลาทูน่าครีบเหลืองขนาดใหญ่ ที่อาศัยอยู่ในระดับลึกได้แก่เบ็ดราว ( Tuna Longline )