ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระยาราชวังสัน (ศรี กมลนาวิน)"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 2 sources and tagging 1 as dead.) #IABot (v2.0.8
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 1 sources and tagging 1 as dead.) #IABot (v2.0.8.1
บรรทัด 23: บรรทัด 23:
พลเรือโท พระยาราชวังสัน มีนามเดิมว่า ศรี กมลนาวิน เกิดที่ตำบลบ้านท่าจีน อำเภอเมือง [[จังหวัดสมุทรสาคร]] เป็นบุตรนายเล็ก-นางจู กมลนาวิน เป็นพี่ชายของ[[หลวงสินธุสงครามชัย (สินธุ์ กมลนาวิน)]]<ref name="navy">[http://www.navy.mi.th/navic/document/830801d.html ประวัติและผลงานโดยสังเขปของพลเรือโท พระราชวังสัน (ศรีกมลนาวิน) หน้า 4]{{ลิงก์เสีย|date=สิงหาคม 2021 |bot=InternetArchiveBot |fix-attempted=yes }}</ref> สมรสกับ นางสาวถนอมศรี วีระศิริ (นางถนอมศรี ประดิยัตินาวายุทธ) เมื่อ พ.ศ. 2456 ต่อมาเมื่อนางถนอมศรีถึงแก่กรรม จึงสมรสกับ นางสาว ระจิตร วีระศิริ (คุณหญิงระจิตร ราชวังสัน) น้องสาวภรรยา
พลเรือโท พระยาราชวังสัน มีนามเดิมว่า ศรี กมลนาวิน เกิดที่ตำบลบ้านท่าจีน อำเภอเมือง [[จังหวัดสมุทรสาคร]] เป็นบุตรนายเล็ก-นางจู กมลนาวิน เป็นพี่ชายของ[[หลวงสินธุสงครามชัย (สินธุ์ กมลนาวิน)]]<ref name="navy">[http://www.navy.mi.th/navic/document/830801d.html ประวัติและผลงานโดยสังเขปของพลเรือโท พระราชวังสัน (ศรีกมลนาวิน) หน้า 4]{{ลิงก์เสีย|date=สิงหาคม 2021 |bot=InternetArchiveBot |fix-attempted=yes }}</ref> สมรสกับ นางสาวถนอมศรี วีระศิริ (นางถนอมศรี ประดิยัตินาวายุทธ) เมื่อ พ.ศ. 2456 ต่อมาเมื่อนางถนอมศรีถึงแก่กรรม จึงสมรสกับ นางสาว ระจิตร วีระศิริ (คุณหญิงระจิตร ราชวังสัน) น้องสาวภรรยา


ศรี กมลนาวิน จบการศึกษาจาก[[โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย|โรงเรียนสวนกุหลาบอังกฤษ]]<ref name="นาวิกศาสตร์">[http://www.google.com/search?q=cache:CvfAspxIuY0J:www.navy.mi.th/newwww/document/navic/860401.html+%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%A2%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4+%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%97%E0%B8%98&hl=th&ct=clnk&cd=1 นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๘๖ เล่มที่ ๔ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๖] สำเนาจาก กูเกิลแคช</ref> เข้าเรียนเป็นนักเรียนนายเรือ เมื่อ พ.ศ. 2446<ref>[http://topicstock.pantip.com/library/topicstock/K3481058/K3481058.html เพชรพระมหามงกุฎ ตอน กรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักดิ์]</ref> ได้ถวายตัวต่อพลเรือเอก [[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์]] เพื่อเข้าเป็นนักเรียนนายเรือ เมื่อ พ.ศ. 2449 และรับราชการทหารเรือ เคยเป็นผู้บังคับการเรือหลวงคำรณสินธุ์ซึ่งเดินทางจาก[[ประเทศญี่ปุ่น]]มายังประเทศไทยเมื่อ พ.ศ. 2455<ref>{{Cite web |url=http://www.navy.mi.th/nrdo/Chakri/king6.htm |title=เรือรบในรัชสมัย รัชกาลที่ 6 |access-date=2007-11-03 |archive-date=2007-11-07 |archive-url=https://web.archive.org/web/20071107022348/http://www.navy.mi.th/nrdo/Chakri/king6.htm |url-status=dead }}</ref> ขณะนั้นมีบรรดาศักดิ์เป็น นาวาตรี หลวงประดิยัตินาวายุทธ (ศรี) ร.น. เป็นผู้บังคับการ[[เรือพระที่นั่งมหาจักรี]]<ref>http://www.amed.go.th/AboutUs/palace/nameA.htm</ref> เป็นอาจารย์ใหญ่[[โรงเรียนนายเรือ]] เสนาธิการทหารเรือ<ref> [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2466/D/2489.PDF แจ้งความกระทรวงทหารเรือ] </ref> ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น[[พระยาราชวังสัน]]เมื่อวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2464 ใน[[รัชกาลที่ 6]]<ref> [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2465/D/11.PDF พระราชทานบรรดาศักดิ์] </ref>และได้รับโปรดเกล้าฯ เป็น[[องคมนตรีไทย]]ในสมัย[[รัชกาลที่ 7]] เมื่อ พ.ศ. 2470-2476 เป็นเสนาบดีกระทรวงกลาโหม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม (พ.ศ. 2475-2476)
ศรี กมลนาวิน จบการศึกษาจาก[[โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย|โรงเรียนสวนกุหลาบอังกฤษ]]<ref name="นาวิกศาสตร์">[http://www.google.com/search?q=cache:CvfAspxIuY0J:www.navy.mi.th/newwww/document/navic/860401.html+%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%A2%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4+%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%97%E0%B8%98&hl=th&ct=clnk&cd=1 นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๘๖ เล่มที่ ๔ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๖] สำเนาจาก กูเกิลแคช</ref> เข้าเรียนเป็นนักเรียนนายเรือ เมื่อ พ.ศ. 2446<ref>[http://topicstock.pantip.com/library/topicstock/K3481058/K3481058.html เพชรพระมหามงกุฎ ตอน กรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักดิ์]</ref> ได้ถวายตัวต่อพลเรือเอก [[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์]] เพื่อเข้าเป็นนักเรียนนายเรือ เมื่อ พ.ศ. 2449 และรับราชการทหารเรือ เคยเป็นผู้บังคับการเรือหลวงคำรณสินธุ์ซึ่งเดินทางจาก[[ประเทศญี่ปุ่น]]มายังประเทศไทยเมื่อ พ.ศ. 2455<ref>{{Cite web |url=http://www.navy.mi.th/nrdo/Chakri/king6.htm |title=เรือรบในรัชสมัย รัชกาลที่ 6 |access-date=2007-11-03 |archive-date=2007-11-07 |archive-url=https://web.archive.org/web/20071107022348/http://www.navy.mi.th/nrdo/Chakri/king6.htm |url-status=dead }}</ref> ขณะนั้นมีบรรดาศักดิ์เป็น นาวาตรี หลวงประดิยัตินาวายุทธ (ศรี) ร.น. เป็นผู้บังคับการ[[เรือพระที่นั่งมหาจักรี]]<ref>{{Cite web |url=http://www.amed.go.th/AboutUs/palace/nameA.htm |title=สำเนาที่เก็บถาวร |access-date=2007-11-03 |archive-date=2007-10-10 |archive-url=https://web.archive.org/web/20071010210852/http://www.amed.go.th/AboutUs/palace/nameA.htm |url-status=dead }}</ref> เป็นอาจารย์ใหญ่[[โรงเรียนนายเรือ]] เสนาธิการทหารเรือ<ref> [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2466/D/2489.PDF แจ้งความกระทรวงทหารเรือ] </ref> ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น[[พระยาราชวังสัน]]เมื่อวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2464 ใน[[รัชกาลที่ 6]]<ref> [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2465/D/11.PDF พระราชทานบรรดาศักดิ์] </ref>และได้รับโปรดเกล้าฯ เป็น[[องคมนตรีไทย]]ในสมัย[[รัชกาลที่ 7]] เมื่อ พ.ศ. 2470-2476 เป็นเสนาบดีกระทรวงกลาโหม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม (พ.ศ. 2475-2476)


พลเรือโท พระยาราชวังสัน เคยดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูตไทย ณ [[กรุงลอนดอน]] ระหว่าง พ.ศ. 2478-2482<ref>{{Cite web |url=http://www.thaiembassyuk.org.uk/list_amb.html |title=รายนามเอกอัครราชทูตไทย ณ กรุงลอนดอน |access-date=2007-11-03 |archive-date=2008-07-03 |archive-url=https://web.archive.org/web/20080703171333/http://www.thaiembassyuk.org.uk/list_amb.html |url-status=dead }}</ref> ซึ่งมีอาณาเขตครอบคลุมถึงเยอรมนี จึงถึอว่าเป็นอัครราชทูตไทยประจำเยอรมนีอีกตำแหน่งด้วย<ref>[http://www.thaiembassy.de/site/index.php/konsularwesen/official-document/property/30-general/550-2015-03-10-09-50-10 รายชื่ออดีตอัครราชทูตและเอกอัครราชทูตไทยประจำประเทศเยอรมนี]</ref>
พลเรือโท พระยาราชวังสัน เคยดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูตไทย ณ [[กรุงลอนดอน]] ระหว่าง พ.ศ. 2478-2482<ref>{{Cite web |url=http://www.thaiembassyuk.org.uk/list_amb.html |title=รายนามเอกอัครราชทูตไทย ณ กรุงลอนดอน |access-date=2007-11-03 |archive-date=2008-07-03 |archive-url=https://web.archive.org/web/20080703171333/http://www.thaiembassyuk.org.uk/list_amb.html |url-status=dead }}</ref> ซึ่งมีอาณาเขตครอบคลุมถึงเยอรมนี จึงถึอว่าเป็นอัครราชทูตไทยประจำเยอรมนีอีกตำแหน่งด้วย<ref>[http://www.thaiembassy.de/site/index.php/konsularwesen/official-document/property/30-general/550-2015-03-10-09-50-10 รายชื่ออดีตอัครราชทูตและเอกอัครราชทูตไทยประจำประเทศเยอรมนี]{{ลิงก์เสีย|date=กันยายน 2021 |bot=InternetArchiveBot |fix-attempted=yes }}</ref>


== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ==
== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:14, 26 กันยายน 2564

นายพลเรือโท

พระยาราชวังสัน
(ศรี กมลนาวิน)
เกิด9 มิถุนายน พ.ศ. 2429
เสียชีวิต21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2482 (52 ปี)
บุตรพลเรือตรี กมล กมลนาวิน
ดร โกมล กมลนาวิน
นาย กมุท กมลนาวิน
พลเรือตรี กุมุท กมลนาวิน
พลเรือเอก โกมุท กมลนาวิน
ด.ช. กสุม กมลนาวิน
นาย กุสุม กมลนาวิน
คุณหญิง กมลนารี สิงหะ
พลเรือเอก โกสุม กมลนาวิน
นาง กมลเทวี ฉันทานุมัติ
บุพการี
  • นายเล็ก กมลนาวิน (บิดา)
  • นางจู กมลนาวิน (มารดา)

นายพลเรือโท พระยาราชวังสัน (ศรี กมลนาวิน) (9 มิถุนายน พ.ศ. 2429 - 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2482)[1] อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม

พลเรือโท พระยาราชวังสัน มีนามเดิมว่า ศรี กมลนาวิน เกิดที่ตำบลบ้านท่าจีน อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร เป็นบุตรนายเล็ก-นางจู กมลนาวิน เป็นพี่ชายของหลวงสินธุสงครามชัย (สินธุ์ กมลนาวิน)[2] สมรสกับ นางสาวถนอมศรี วีระศิริ (นางถนอมศรี ประดิยัตินาวายุทธ) เมื่อ พ.ศ. 2456 ต่อมาเมื่อนางถนอมศรีถึงแก่กรรม จึงสมรสกับ นางสาว ระจิตร วีระศิริ (คุณหญิงระจิตร ราชวังสัน) น้องสาวภรรยา

ศรี กมลนาวิน จบการศึกษาจากโรงเรียนสวนกุหลาบอังกฤษ[3] เข้าเรียนเป็นนักเรียนนายเรือ เมื่อ พ.ศ. 2446[4] ได้ถวายตัวต่อพลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ เพื่อเข้าเป็นนักเรียนนายเรือ เมื่อ พ.ศ. 2449 และรับราชการทหารเรือ เคยเป็นผู้บังคับการเรือหลวงคำรณสินธุ์ซึ่งเดินทางจากประเทศญี่ปุ่นมายังประเทศไทยเมื่อ พ.ศ. 2455[5] ขณะนั้นมีบรรดาศักดิ์เป็น นาวาตรี หลวงประดิยัตินาวายุทธ (ศรี) ร.น. เป็นผู้บังคับการเรือพระที่นั่งมหาจักรี[6] เป็นอาจารย์ใหญ่โรงเรียนนายเรือ เสนาธิการทหารเรือ[7] ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นพระยาราชวังสันเมื่อวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2464 ในรัชกาลที่ 6[8]และได้รับโปรดเกล้าฯ เป็นองคมนตรีไทยในสมัยรัชกาลที่ 7 เมื่อ พ.ศ. 2470-2476 เป็นเสนาบดีกระทรวงกลาโหม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม (พ.ศ. 2475-2476)

พลเรือโท พระยาราชวังสัน เคยดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูตไทย ณ กรุงลอนดอน ระหว่าง พ.ศ. 2478-2482[9] ซึ่งมีอาณาเขตครอบคลุมถึงเยอรมนี จึงถึอว่าเป็นอัครราชทูตไทยประจำเยอรมนีอีกตำแหน่งด้วย[10]

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

เครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ

ประเทศ ปีที่ได้รับ เครื่องอิสริยาภรณ์ แพรแถบ อ้างอิง
 ไรช์เยอรมัน พ.ศ. 2481 เครื่องอิสริยาภรณ์อินทรีเยอรมัน ชั้นสูงสุด [16]

อ้างอิง

  1. เกิดวังปารุสก์ พระนิพนธ์ใน พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์
  2. ประวัติและผลงานโดยสังเขปของพลเรือโท พระราชวังสัน (ศรีกมลนาวิน) หน้า 4[ลิงก์เสีย]
  3. นาวิกศาสตร์ ปีที่ ๘๖ เล่มที่ ๔ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๖ สำเนาจาก กูเกิลแคช
  4. เพชรพระมหามงกุฎ ตอน กรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักดิ์
  5. "เรือรบในรัชสมัย รัชกาลที่ 6". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-11-07. สืบค้นเมื่อ 2007-11-03.
  6. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-10-10. สืบค้นเมื่อ 2007-11-03.
  7. แจ้งความกระทรวงทหารเรือ
  8. พระราชทานบรรดาศักดิ์
  9. "รายนามเอกอัครราชทูตไทย ณ กรุงลอนดอน". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-07-03. สืบค้นเมื่อ 2007-11-03.
  10. รายชื่ออดีตอัครราชทูตและเอกอัครราชทูตไทยประจำประเทศเยอรมนี[ลิงก์เสีย]
  11. "แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ [หม่อมเจ้าวรรณไวทยากร วรวรรณ, พระยาราชวังสัน (ศรี กมลนาวิน), หลวงอดุลเดชจรัส (บัตร์ พึ่งพระคุณ)]" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 54 (ตอน 0 ง): หน้า 697. 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2480. สืบค้นเมื่อ 20 มีนาคม พ.ศ. 2564. {{cite journal}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)
  12. "พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 47 (0 ง): 4516. 1 มีนาคม พ.ศ. 2473. สืบค้นเมื่อ 12 มีนาคม พ.ศ. 2564. {{cite journal}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)
  13. "พระราชทานเครื่องราชอิศริยาภรณ์ จุลจอมเกล้าฝ่ายหน้า" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 42 (0 ง): 2553. 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468. สืบค้นเมื่อ 28 มกราคม พ.ศ. 2564. {{cite journal}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)
  14. "พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์และเหรียญ" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 40 (0 ง): 3442. 7 มกราคม 2466. สืบค้นเมื่อ 7 เมษายน 2564. {{cite journal}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  15. "พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 43 (0 ง): 3156. 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2469. สืบค้นเมื่อ 12 มีนาคม พ.ศ. 2564. {{cite journal}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)
  16. "Hitler Honours Siamese". The Straits Times. 3 April 1938. p. 3.