ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จินตา บุณยอาคม"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Aroonsaha (คุย | ส่วนร่วม)
Aroonsaha ย้ายหน้า จินดา บุญยอาคม ไปยัง จินตา บุณยอาคม ทับหน้าเปลี่ยนทาง
Aroonsaha (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''นายจินตา บุณยอาคม''' ([[พ.ศ. 2457]] - [[8 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2530]]) เป็นอดีต[[ประธานศาลฎีกา]] และ[[องคมนตรีไทย]]
'''จินตา บุณยอาคม''' (พ.ศ. 2457 - 8 มีนาคม พ.ศ. 2530) เป็นอดีต[[ประธานศาลฎีกา]] และ[[องคมนตรีไทย]]


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
บรรทัด 5: บรรทัด 5:


===การศึกษา===
===การศึกษา===
นายจินดา บุณยอาคม สำเร็จการศึกษาเป็นเนติบัณฑิตสยามเมื่อ พ.ศ. 2476 และปริญญาโททางกฎหมายเปรียบเทียบจากมหาวิทยาลัย Southern Methodist University (SMU) สหรัฐอเมริกา เมื่อ พ.ศ. 2502
จินตา บุณยอาคม สำเร็จการศึกษาเป็นเนติบัณฑิตสยามเมื่อ พ.ศ. 2476 และปริญญาโททางกฎหมายเปรียบเทียบจากมหาวิทยาลัย Southern Methodist University (SMU) สหรัฐอเมริกา เมื่อ พ.ศ. 2502


=== ประวัติการทำงาน ===
=== ประวัติการทำงาน ===
'''นายจินตา บุณยอาคม''' เริ่มรับราชการครั้งแรกเป็นพนักงานอัยการ แต่มาเป็นผู้พิพากษาในกระทรวงยุติธรรม ได้รับราชการมาด้วยความซื่อสัตย์สุจริต เคยดำรงตำแหน่งสำคัญต่างๆมากมาย อาทิ อธิบดีผู้พิพากษาภาค5 (เชียงใหม่) อธิบดีศาลคดีเด็กและเยาวชนกลาง ผู้พิพากษาศาลฎีกา ผู้พิพากษาหัวหน้าคณะในศาลฎีกา อธิบดีผู้พิพากษาในศาลอุทธรณ์ รับราชการศาลยุติธรรมจนดำรงตำแหน่ง[[รายนามประธานศาลฎีกาของไทย|ประธานศาลฎีกา]] ระหว่างวันที่ [[1 เมษายน]] [[พ.ศ. 2516]] - [[1 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2517]]<ref>{{Cite web |url=http://www.museum.judiciary.go.th/pratan/pratan.html |title=รายนามประธานศาลฎีกา |access-date=2007-11-03 |archive-date=2007-11-09 |archive-url=https://web.archive.org/web/20071109230754/http://www.museum.judiciary.go.th/pratan/pratan.html |url-status=dead }}</ref>
จินตา บุณยอาคม เริ่มรับราชการครั้งแรกเป็นพนักงานอัยการ แต่มาเป็นผู้พิพากษาในกระทรวงยุติธรรม ได้รับราชการมาด้วยความซื่อสัตย์สุจริต เคยดำรงตำแหน่งสำคัญต่างๆมากมาย อาทิ อธิบดีผู้พิพากษาภาค5 (เชียงใหม่) อธิบดีศาลคดีเด็กและเยาวชนกลาง ผู้พิพากษาศาลฎีกา ผู้พิพากษาหัวหน้าคณะในศาลฎีกา อธิบดีผู้พิพากษาในศาลอุทธรณ์ รับราชการศาลยุติธรรมจนดำรงตำแหน่ง[[รายนามประธานศาลฎีกาของไทย|ประธานศาลฎีกา]] ระหว่างวันที่ [[1 เมษายน]] [[พ.ศ. 2516]] - [[1 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2517]]<ref>{{Cite web |url=http://www.museum.judiciary.go.th/pratan/pratan.html |title=รายนามประธานศาลฎีกา |access-date=2007-11-03 |archive-date=2007-11-09 |archive-url=https://web.archive.org/web/20071109230754/http://www.museum.judiciary.go.th/pratan/pratan.html |url-status=dead }}</ref>


นายจินตา บุณยอาคม ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้เป็นองคมนตรีเมื่อวันที่ [[26 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2518]] อยู่ในตำแหน่งจนถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ [[8 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2530]] <ref>{{อ้างหนังสือ
จินตา บุณยอาคม ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้เป็นองคมนตรีเมื่อวันที่ [[26 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2518]] อยู่ในตำแหน่งจนถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ [[8 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2530]] <ref>{{อ้างหนังสือ
|ผู้แต่ง=จีรวัฒน์ ครองแก้ว
|ผู้แต่ง=จีรวัฒน์ ครองแก้ว
|ชื่อหนังสือ=องคมนตรี ศักดิ์ศรีแผ่นดิน
|ชื่อหนังสือ=องคมนตรี ศักดิ์ศรีแผ่นดิน

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:43, 13 กันยายน 2564

จินตา บุณยอาคม (พ.ศ. 2457 - 8 มีนาคม พ.ศ. 2530) เป็นอดีตประธานศาลฎีกา และองคมนตรีไทย

ประวัติ

การศึกษา

จินตา บุณยอาคม สำเร็จการศึกษาเป็นเนติบัณฑิตสยามเมื่อ พ.ศ. 2476 และปริญญาโททางกฎหมายเปรียบเทียบจากมหาวิทยาลัย Southern Methodist University (SMU) สหรัฐอเมริกา เมื่อ พ.ศ. 2502

ประวัติการทำงาน

จินตา บุณยอาคม เริ่มรับราชการครั้งแรกเป็นพนักงานอัยการ แต่มาเป็นผู้พิพากษาในกระทรวงยุติธรรม ได้รับราชการมาด้วยความซื่อสัตย์สุจริต เคยดำรงตำแหน่งสำคัญต่างๆมากมาย อาทิ อธิบดีผู้พิพากษาภาค5 (เชียงใหม่) อธิบดีศาลคดีเด็กและเยาวชนกลาง ผู้พิพากษาศาลฎีกา ผู้พิพากษาหัวหน้าคณะในศาลฎีกา อธิบดีผู้พิพากษาในศาลอุทธรณ์ รับราชการศาลยุติธรรมจนดำรงตำแหน่งประธานศาลฎีกา ระหว่างวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2516 - 1 ตุลาคม พ.ศ. 2517[1]

จินตา บุณยอาคม ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้เป็นองคมนตรีเมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2518 อยู่ในตำแหน่งจนถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2530 [2]

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

อ้างอิง

  1. "รายนามประธานศาลฎีกา". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-11-09. สืบค้นเมื่อ 2007-11-03.
  2. จีรวัฒน์ ครองแก้ว. องคมนตรี ศักดิ์ศรีแผ่นดิน. กรุงเทพ : มูลนิธิทรัพยากรมนุษย์ระหว่างประเทศ, พ.ศ. 2550. 269 หน้า. หน้า หน้าที่. ISBN 978-974-7362-09-1
  3. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๑๐๑ ตอนที่ ๖๗ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๗, ๒๔ พฤษภาคม ๒๕๒๗
  4. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๙๑ ตอนที่ ๒๒๙ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๓๘, ๓๑ ธันวาคม ๒๕๑๗
  5. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๘๙ ตอนที่ ๒๐๒ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๓๔, ๓๑ ธันวาคม ๒๕๑๕
  6. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญจักรมาลาและเหรียญจักรพรรดิมาลา, เล่ม ๗๘ ตอนที่ ๑๐๔ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๘๒๙, ๑๕ ธันวาคม ๒๕๐๔
  7. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์, เล่ม ๙๖ ตอนที่ ๑๕๖ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๗, ๑๓ กันยายน ๒๕๒๒