ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศาสนาพุทธในประเทศญี่ปุ่น"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
GeonuchBot (คุย | ส่วนร่วม)
→‎top: บอต: นำแม่แบบออก, removed: {{รอการตรวจสอบ}}
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:


{{พุทธศาสนา}}
{{พุทธศาสนา}}
'''[[พระพุทธศาสนา]]'''เข้าสู่'''[[ประเทศญี่ปุ่น]]'''โดยผ่าน[[เกาหลี]] ในหนังสือประวัติศาสตร์[[ญี่ปุ่น]]ชื่อ [[นิฮงโชะกิ|นิฮงโชคิ]] ({{ญี่ปุ่น|日本書紀(にほんしょき)|Nihon Shoki}})<ref>[https://kotobank.jp/word/%E6%97%A5%E6%9C%AC%E6%9B%B8%E7%B4%80-110190 日本書紀] [[kotobank]] (ในภาษาญี่ปุ่น) เรียกข้อมูลเมื่อ 2018-05-28.</ref> ได้บันทึกไว้ว่า วันที่ [[12 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 1095]] (ใน[[ยุคโคะฟุง|ยุคอาซึกะ]]) เป็นปีที่ 13 ของรัชกาล[[จักรพรรดิคิมเม|จักรพรรดิคินเม]] [[จักรพรรดิญี่ปุ่น|จักรพรรดิ]]องค์ที่ 29 [[พระพุทธศาสนา]]ได้เข้าสู่[[ญี่ปุ่น]] โดย[[พระเจ้าซอง]][[ราชวงศ์แพ็กเจ|กษัตริย์อาณาจักรแพคเจ]]ส่งราชทูตมายังราชสำนัก[[จักรพรรดิคิมเม|จักรพรรดิคินเม]] พร้อมด้วย[[พระพุทธรูป]] ธง คัมภีร์พุทธธรรม และพระราชสาสน์แสดงพระราชประสงค์ที่จะขอให้[[จักรพรรดิคิมเม|จักรพรรดิคินเม]]รับนับถือ[[พระพุทธศาสนา]] จักรพรรดิคินเมทรงรับด้วยความพอพระทัย
'''[[ศาสนาพุทธ]]'''เข้าสู่'''[[ประเทศญี่ปุ่น]]'''โดยผ่าน[[ประเทศเกาหลี]] ในหนังสือ[[ประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น]]ชื่อ [[นิฮงโชะกิ|นิฮงโชคิ]] ({{ญี่ปุ่น|日本書紀(にほんしょき)|Nihon Shoki}})<ref>[https://kotobank.jp/word/%E6%97%A5%E6%9C%AC%E6%9B%B8%E7%B4%80-110190 日本書紀] [[kotobank]] (ในภาษาญี่ปุ่น) เรียกข้อมูลเมื่อ 2018-05-28.</ref> ได้บันทึกไว้ว่า วันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 1095 (ใน[[ยุคโคะฟุง|ยุคอาซึกะ]]) เป็นปีที่ 13 ของรัชกาล[[จักรพรรดิคิมเม]] [[จักรพรรดิญี่ปุ่น]]องค์ที่ 29 พระพุทธศาสนาได้เข้าสู่ญี่ปุ่น โดย[[พระเจ้าซอง]]แห่ง[[อาณาจักรแพ็กเจ]]ส่งราชทูตมายังราชสำนักจักรพรรดิคิมเม พร้อมด้วย[[พระพุทธรูป]] ธง คัมภีร์พุทธธรรม และพระราชสาสน์แสดงพระราชประสงค์ที่จะขอให้จักรพรรดิคิมเมรับนับถือพระพุทธศาสนา จักรพรรดิคินเมทรงรับด้วยความพอพระทัย


แม้จะมีการนับถือศาสนาพุทธในหมู่ชาวญี่ปุ่นอยู่ก่อนแล้ว โดยรับจาก[[อินเดีย]]ผ่าน[[จีน]]เข้ามายังญี่ปุ่นที่มีผู้นำมาถ่ายทอดจากแผ่นดินใหญ่ในช่วงก่อนต้นพุทธศตวรรษที่ 10 เพียงแต่ครั้งนี้เป็นการเริ่มต้นของ[[พระพุทธศาสนา]]ใน[[ญี่ปุ่น]]อย่างเป็นหลักเป็นฐานที่ชัดเจนอยู่ในบันทึก[[นิฮงโชะกิ|นิฮงโชคิ]]พงศาวดารญี่ปุ่นซึ่งเขียนโดยอาลักษณ์
แม้จะมีการนับถือศาสนาพุทธในหมู่ชาวญี่ปุ่นอยู่ก่อนแล้ว โดยรับจาก[[ประเทศอินเดีย]]ผ่าน[[ประเทศจีน]]เข้ามายังญี่ปุ่นที่มีผู้นำมาถ่ายทอดจากแผ่นดินใหญ่ในช่วงก่อนต้นพุทธศตวรรษที่ 10 เพียงแต่ครั้งนี้เป็นการเริ่มต้นของพระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นอย่างเป็นหลักเป็นฐานที่ชัดเจนอยู่ในบันทึก[[นิฮงโชะกิ|นิฮงโชคิ]]พงศาวดารญี่ปุ่นซึ่งเขียนโดยอาลักษณ์


[[พระพุทธศาสนา]]เป็นส่วนหนึ่งของรากฐานในวิถีชีวิตของชาว[[ญี่ปุ่น]]มาร่วมสหัสวรรษ และในพันปีกว่านี้ชาวญี่ปุ่นยังได้เชื่อมโยงความเชื่อของพุทธศาสนาบางส่วนเข้าผสมผสานกับปรัชญาหลักคำสอนของศาสนา[[ชินโต]]พื้นบ้าน<ref>[http://www.crs.mahidol.ac.th/thai/shinto00.htm ศาสนาชินโต] วิทยาลัยศาสนศึกษามหาวิทยาลัยมหิดล เรียกข้อมูลเมื่อ 2018-06-15.</ref> เช่น ความเชื่อในเรื่องของ[[พระโพธิสัตว์]]และ[[เทวดา (ศาสนาพุทธ)|ทวยเทพในศาสนาพุทธ]] ซึ่งได้ผนวกเป็นเทพเจ้าที่ได้รับการเคารพนับถือในศาสนาชินโต ความเชื่อมโยงนี้ซึมซับจนกลายเป็นส่วนหนึ่งของแกนรากทางวัฒนธรรมของประเทศญี่ปุ่นมาเนิ่นนานหลายศตวรรษ<ref>[https://livejapan.com/th/article-a0000759/ ประวัติความเป็นมาของพระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น] live japan เรียกข้อมูลเมื่อ 2018-06-15.</ref>
พระพุทธศาสนาเป็นส่วนหนึ่งของรากฐานในวิถีชีวิตของ[[ชาวญี่ปุ่น]]มาร่วมสหัสวรรษ และในพันปีกว่านี้ชาวญี่ปุ่นยังได้เชื่อมโยงความเชื่อของพุทธศาสนาบางส่วนเข้าผสมผสานกับปรัชญาหลักคำสอนของศาสนา[[ชินโต]]พื้นบ้าน<ref>[http://www.crs.mahidol.ac.th/thai/shinto00.htm ศาสนาชินโต] วิทยาลัยศาสนศึกษามหาวิทยาลัยมหิดล เรียกข้อมูลเมื่อ 2018-06-15.</ref> เช่น ความเชื่อในเรื่องของ[[พระโพธิสัตว์]]และ[[เทวดา (ศาสนาพุทธ)|ทวยเทพในศาสนาพุทธ]] ซึ่งได้ผนวกเป็นเทพเจ้าที่ได้รับการเคารพนับถือในศาสนาชินโต ความเชื่อมโยงนี้ซึมซับจนกลายเป็นส่วนหนึ่งของแกนรากทางวัฒนธรรมของประเทศญี่ปุ่นมาเนิ่นนานหลายศตวรรษ<ref>[https://livejapan.com/th/article-a0000759/ ประวัติความเป็นมาของพระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น] live japan เรียกข้อมูลเมื่อ 2018-06-15.</ref>


== พุทธศาสนาเริ่มรุ่งเรืองในญี่ปุ่น ==
== พุทธศาสนาเริ่มรุ่งเรืองในญี่ปุ่น ==


[[พระพุทธศาสนา]]ได้เจริญขึ้นในประเทศญี่ปุ่น ในสมัย[[จักรพรรดิคิมเม|จักรพรรดิคินเม]]เป็นอย่างมากแต่ที่ปรึกษาฝ่ายทหารและฝ่าย[[ชินโต]]ในยุคนั้นไม่เห็นด้วยกับ[[จักรพรรดิคิมเม|องค์จักรพรรดิคินเม]] ฝ่ายไม่เห็นชอบพยายามขัดขวางการเผยแพร่ศาสตร์ทางพุทธเป็นสาเหตุสำคัญที่พุทธศาสนาไม่เผยแผ่กว้างขวางไปในทุกหมู่ชนชั้น และภายหลังที่พระองค์สิ้นพระชนม์แล้วจักรพรรดิองค์ต่อ ๆ มาก็มิได้ใส่พระทัยใน[[พระพุทธศาสนา]]ปล่อยให้พระพุทธศาสนาเสื่อมโทรมลง
พระพุทธศาสนาได้เจริญขึ้นในประเทศญี่ปุ่น ในสมัยจักรพรรดิคิมเมเป็นอย่างมากแต่ที่ปรึกษาฝ่ายทหารและฝ่าย[[ชินโต]]ในยุคนั้นไม่เห็นด้วยกับจักรพรรดิคิมเม ฝ่ายไม่เห็นชอบพยายามขัดขวางการเผยแพร่ศาสตร์ทางพุทธเป็นสาเหตุสำคัญที่พุทธศาสนาไม่เผยแผ่กว้างขวางไปในทุกหมู่ชนชั้น และภายหลังที่พระองค์สิ้นพระชนม์แล้วจักรพรรดิองค์ต่อ ๆ มาก็มิได้ใส่พระทัยในพระพุทธศาสนาปล่อยให้พระพุทธศาสนาเสื่อมโทรมลง


กลางพุทธศตวรรษที่ 12 รัชสมัย[[จักรพรรดิโยเม]] จักรพรรดิองค์ที่ 31 ได้ทรงโปรดให้สร้างพระพุทธรูป ยากุชิเนียวไร หรือ [[พระไภษัชยคุรุ]] ({{ญี่ปุ่น|薬師如来| Yakushi Nyorai , バイシャジヤグル Bhaisajyaguru}}) ต่อมารัชสมัยจักรพรรดิองค์ที่ 33 [[จักรพรรดินีซุอิโกะ]] พระนางทรงได้ตราพระราชเสาวนีย์เกี่ยวกับการเผยแผ่พระพุทธศาสนาโดยให้ยึดถือเป็นนโยบายของราชอาณาจักร ประกอบกับขณะนั้น[[เจ้าชายโชโตะกุ|เจ้าชายโชโตกุ]] ผู้เป็นผู้สำเร็จราชการแผ่นดิน ได้พิจารณาเห็นว่าพุทธศาสนาเป็นแหล่งความคิดที่ก่อให้เกิดปัญญา พระองค์ได้ส่งเสริมฟื้นฟูพระพุทธศาสนาในทุกวิถีทาง เมื่อ [[พ.ศ. 1135]] เจ้าชายพระองค์นี้เองที่ได้วางรากฐานการปกครองประเทศญี่ปุ่นและสร้างสรรค์วัฒนธรรมพร้อมทรงเชิดชู[[พระพุทธศาสนา]] ยุคสมัยนี้ได้ชื่อว่า ยุคโฮโก คือยุคที่สัทธรรมไพโรจน์ ประชาชน[[ญี่ปุ่น]]รวมเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ข้าราชการทหารพลเรือนทั้งปวงต่างแข่งขันกันสร้างวัดใน[[พระพุทธศาสนา]]และสำนักปฏิบัติธรรมเป็นอันมาก ในงานด้านศาสนาและพระคัมภีร์แม้แต่ตัวเจ้าชายเองก็ได้ทรงงานเกี่ยวกับ[[พระสูตร]]เขียนอรรถกถาอธิบายไว้ 3 เล่มด้วย นอกจากนี้เจ้าชายทรงได้ส่งคณะทูตและเหล่านักศึกษาไปยังจีนแผ่นดินใหญ่เพื่อศึกษาค้นคว้าหลักธรรมของพระพุทธศาสนากับวัฒนธรรมอื่น ๆ เพื่อยังประโยชน์ที่จะนำมาปรับปรุงราชอาณาจักรต่อไป ในวันที่ [[1 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 1177]] องค์พระ[[จักรพรรดินีซุอิโกะ]]ได้ทรงประกาศพระราชโองการเชิดชู[[พระรัตนตรัย]] ตราขึ้นเป็นกฎหมาย [[รัฐธรรมนูญสิบเจ็ดมาตรา|ธรรมนูญ 17 มาตรา]] หลักแห่งธรรมนูญบัญญัตินี้สืบเนื่องด้วย [[เจ้าชายโชโตะกุ|เจ้าชายโชโตกุ]] ทรงได้มีพระราชนิพนธ์ขึ้นในปี พ.ศ.1147 [[รัฐธรรมนูญสิบเจ็ดมาตรา|รัฐธรรมนูญ 17 มาตรา]] เป็นกฎบัญญัติที่ประกาศหลักสามัคคีธรรมของสังคม และด้วยรูปการณ์ในกาลนั้น[[พระพุทธศาสนา]]ได้หยั่งรากเจริญรุ่งเรืองอย่างมั่นคงในญี่ปุ่น
กลางพุทธศตวรรษที่ 12 รัชสมัย[[จักรพรรดิโยเม]] จักรพรรดิองค์ที่ 31 ได้ทรงโปรดให้สร้างพระพุทธรูป ยากุชิเนียวไร หรือ [[พระไภษัชยคุรุ]] ({{ญี่ปุ่น|薬師如来| Yakushi Nyorai , バイシャジヤグル Bhaisajyaguru}}) ต่อมารัชสมัยจักรพรรดิองค์ที่ 33 [[จักรพรรดินีซุอิโกะ]] พระนางทรงได้ตราพระราชเสาวนีย์เกี่ยวกับการเผยแผ่พระพุทธศาสนาโดยให้ยึดถือเป็นนโยบายของราชอาณาจักร ประกอบกับขณะนั้น[[เจ้าชายโชโตะกุ|เจ้าชายโชโตกุ]] ผู้เป็นผู้สำเร็จราชการแผ่นดิน ได้พิจารณาเห็นว่าพุทธศาสนาเป็นแหล่งความคิดที่ก่อให้เกิดปัญญา พระองค์ได้ส่งเสริมฟื้นฟูพระพุทธศาสนาในทุกวิถีทาง เมื่อ [[พ.ศ. 1135]] เจ้าชายพระองค์นี้เองที่ได้วางรากฐานการปกครองประเทศญี่ปุ่นและสร้างสรรค์วัฒนธรรมพร้อมทรงเชิดชูพระพุทธศาสนา ยุคสมัยนี้ได้ชื่อว่า ยุคโฮโก คือยุคที่สัทธรรมไพโรจน์ ประชาชน[[ญี่ปุ่น]]รวมเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ข้าราชการทหารพลเรือนทั้งปวงต่างแข่งขันกันสร้างวัดและสำนักปฏิบัติธรรมเป็นอันมาก ในงานด้านศาสนาและพระคัมภีร์แม้แต่ตัวเจ้าชายเองก็ได้ทรงงานเกี่ยวกับ[[พระสูตร]]เขียนอรรถกถาอธิบายไว้ 3 เล่มด้วย นอกจากนี้เจ้าชายทรงได้ส่งคณะทูตและเหล่านักศึกษาไปยังจีนแผ่นดินใหญ่เพื่อศึกษาค้นคว้าหลักธรรมของพระพุทธศาสนากับวัฒนธรรมอื่น ๆ เพื่อยังประโยชน์ที่จะนำมาปรับปรุงราชอาณาจักรต่อไป ในวันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 1177 องค์พระจักรพรรดินีซุอิโกะได้ทรงประกาศพระราชโองการเชิดชู[[พระรัตนตรัย]] ตราขึ้นเป็นกฎหมาย [[รัฐธรรมนูญสิบเจ็ดมาตรา|ธรรมนูญ 17 มาตรา]] หลักแห่งธรรมนูญบัญญัตินี้สืบเนื่องด้วย [[เจ้าชายโชโตกุ]] ทรงได้มีพระราชนิพนธ์ขึ้นในปี พ.ศ.1147 [[รัฐธรรมนูญสิบเจ็ดมาตรา|รัฐธรรมนูญ 17 มาตรา]] เป็นกฎบัญญัติที่ประกาศหลักสามัคคีธรรมของสังคม และด้วยรูปการณ์ในกาลนั้นพระพุทธศาสนาได้หยั่งรากเจริญรุ่งเรืองอย่างมั่นคงในญี่ปุ่น


ส่วนงานสร้างจากรัชกาลก่อนด้วยพระประสงค์ของ[[จักรพรรดิโยเม]] พระพุทธรูปยากุชิเนียวไรสร้างแล้วเสร็จหลังจากที่ทรงสวรรคตไป 20 ปี ภายในยุคสมัยของ[[เจ้าชายโชโตะกุ|เจ้าชายโชโตกุ]]ผู้เป็นพระราชโอรสได้ทรงอัญเชิญองค์พระไปประดิษฐานอยู่ใน [[วัดโฮริว|โฮริวจิ]] วัดแห่งนี้ได้สร้างขึ้นตามพระบัญชาของเจ้าชายและเพื่อเทิดพระเกียรติยศอุทิศแก่พระราชบิดาของพระองค์
ส่วนงานสร้างจากรัชกาลก่อนด้วยพระประสงค์ของจักรพรรดิโยเม พระพุทธรูปยากุชิเนียวไรสร้างแล้วเสร็จหลังจากที่ทรงสวรรคตไป 20 ปี ภายในยุคสมัยของ[[เจ้าชายโชโตะกุ|เจ้าชายโชโตกุ]]ผู้เป็นพระราชโอรสได้ทรงอัญเชิญองค์พระไปประดิษฐานอยู่ใน [[วัดโฮริว|โฮริวจิ]] วัดแห่งนี้ได้สร้างขึ้นตามพระบัญชาของเจ้าชายและเพื่อเทิดพระเกียรติยศอุทิศแก่พระราชบิดาของพระองค์


== ความเสื่อมและย่างก้าวของพุทธศาสตร์ในญี่ปุ่น ==
== ความเสื่อมและย่างก้าวของพุทธศาสตร์ในญี่ปุ่น ==
ในสมัยที่ได้มีการติดต่อทางวัฒนธรรมนำเอาพระคัมภีร์ทางพุทธศาสนาและอรรถกถาต่าง ๆ เข้าสู่ประเทศญี่ปุ่น [[เจ้าชายโชโตะกุ|เจ้าชายโชโตกุ]]สิ้นพระชนม์เมื่อ [[พ.ศ. 1165]] บรรดาประชาชนทั้งปวงมีความเศร้าโศกเป็นอันมาก จึงได้ร่วมกันสร้าง[[พระพุทธรูป]]ขนาดเท่าพระองค์ขึ้น 1 องค์ องค์ประดิษฐานไว้เป็นอนุสรณ์ที่[[วัดโฮริว]] และถัดมา พ.ศ. 1171 [[จักรพรรดินีซุอิโกะ]] เสด็จสวรรคต หลังจากนั้นมาพระพุทธศาสนาก็ถูกแบ่งออกเป็นหลายนิกาย เป็นการคล้ายกับว่าพระพุทธศาสนาได้ถูกหยุดชะงักเพราะนโยบายการปกครองประเทศที่เปลี่ยนแปลงไปตามยุคของการเปลี่ยนผู้นำ ด้วยพระนักบวชเป็นที่เคารพอย่างสูงจากทั้งชาวบ้านขุนนางโดยไม่เว้นแม้แต่ระดับผู้นำอย่างราชวงศ์จักรพรรดิและโชกุน แต่ภาระหน้าที่ของพระสงฆ์นักบวชแต่โบราณกาลนอกจากเทศน์แก่สาธุชนช่วยเหลือผู้พอเหมาะสมพอควรอันอยู่ในทางที่พอช่วยได้แล้ว เดิมยังได้มีบทบาทในทางสังคมเป็นผู้นำทางจิตวิญญาณ ที่ปรึกษาปัญหาทางโลก ปัญหาทางธรรม ไปจนถึงการมีส่วนร่วมชี้นำการปกครองบ้างบางครั้งในคราวจำเป็น นักบวชพระสงฆ์เองผู้ซึ่งปฏิบัติธรรมย่อมตระหนักดีในเท็จจริงของโลกนี้ว่าการมุ่งไปสู่จุดหมายสูงสุดของสายทางบำเพ็ญเพียรจำเป็นต้องพิจารณาสรรพสิ่งความเป็นไปอย่างยิ่งจิตใจและธาตุสี่แห่งกายสังขารตน<ref>[http://anuchah.com/seeing-dhamma/ ดวงตาเห็นธรรม] anuchah.com เรียกข้อมูลเมื่อ 2018-05-30.</ref>ซึ่งยังคงพึ่งอิงอาศัยอยู่บนโลก <ref>[https://www.gotoknow.org/posts/501554 หลักธรรมสำคัญของมหายาน] [[โกทูโนว์]] เรียกข้อมูลเมื่อ 2018-05-29.</ref>อีกด้านของยุคต่าง ๆ สมัยที่บ้านเมืองต้องอยู่กับสงครามความวุ่นวายปั่นป่วน นักบวชพุทธ[[มหายาน]]ในญี่ปุ่น<ref>[https://www.gotoknow.org/posts/501540 มหายานในประเทศญี่ปุ่น] [[โกทูโนว์]] เรียกข้อมูลเมื่อ 2018-05-28.</ref><ref>[https://www.gotoknow.org/posts/501542 ความแตกต่างระหว่างเถรวาทกับมหายานอย่างไร] [[โกทูโนว์]] เรียกข้อมูลเมื่อ 2018-05-29.</ref>เองนั้นก็ยังมีพระนักบวชซึ่งฝึกฝนเก่งกาจวิชาการต่อสู้เป็นพระนักรบ({{ญี่ปุ่น|僧兵(そうへい)|Sōhei "โซเฮ"}})<ref>[https://kotobank.jp/word/%E5%83%A7%E5%85%B5-89671 僧兵 (そうへい)] [[kotobank]] (ในภาษาญี่ปุ่น) เรียกข้อมูลเมื่อ 2018-05-30.</ref><ref>[https://dic.pixiv.net/a/%E5%83%A7%E5%85%B5 僧兵 (そうへい) 中世日本にいた僧形の武者。] dic.pixiv.net (ในภาษาญี่ปุ่น) เรียกข้อมูลเมื่อ 2018-05-28.</ref>ซึ่งเริ่มมีมาตั้งแต่[[ยุคเฮอัง|ยุคสมัยเฮอัน]] และกองกำลังกองทัพพระนักรบ<ref>[http://www.gypzyworld.com/article/view/487 พระนักรบญี่ปุ่น ทำไมถืออาวุธไม่ผิด] gypzyworld เรียกข้อมูลเมื่อ 2018-05-28.</ref>นั้นเป็นที่ยอมรับได้รับการยำเกรง
ในสมัยที่ได้มีการติดต่อทางวัฒนธรรมนำเอาพระคัมภีร์ทางพุทธศาสนาและอรรถกถาต่าง ๆ เข้าสู่ประเทศญี่ปุ่น [[เจ้าชายโชโตะกุ|เจ้าชายโชโตกุ]]สิ้นพระชนม์เมื่อ พ.ศ. 1165 บรรดาประชาชนทั้งปวงมีความเศร้าโศกเป็นอันมาก จึงได้ร่วมกันสร้างพระพุทธรูปขนาดเท่าพระองค์ขึ้น 1 องค์ องค์ประดิษฐานไว้เป็นอนุสรณ์ที่วัดโฮริว และถัดมา พ.ศ. 1171 จักรพรรดินีซุอิโกะเสด็จสวรรคต หลังจากนั้นมาพระพุทธศาสนาก็ถูกแบ่งออกเป็นหลายนิกาย เป็นการคล้ายกับว่าพระพุทธศาสนาได้ถูกหยุดชะงักเพราะนโยบายการปกครองประเทศที่เปลี่ยนแปลงไปตามยุคของการเปลี่ยนผู้นำ ด้วยพระนักบวชเป็นที่เคารพอย่างสูงจากทั้งชาวบ้านขุนนางโดยไม่เว้นแม้แต่ระดับผู้นำอย่างราชวงศ์จักรพรรดิและโชกุน แต่ภาระหน้าที่ของพระสงฆ์นักบวชแต่โบราณกาลนอกจากเทศน์แก่สาธุชนช่วยเหลือผู้พอเหมาะสมพอควรอันอยู่ในทางที่พอช่วยได้แล้ว เดิมยังได้มีบทบาทในทางสังคมเป็นผู้นำทางจิตวิญญาณ ที่ปรึกษาปัญหาทางโลก ปัญหาทางธรรม ไปจนถึงการมีส่วนร่วมชี้นำการปกครองบ้างบางครั้งในคราวจำเป็น นักบวชพระสงฆ์เองผู้ซึ่งปฏิบัติธรรมย่อมตระหนักดีในเท็จจริงของโลกนี้ว่าการมุ่งไปสู่จุดหมายสูงสุดของสายทางบำเพ็ญเพียรจำเป็นต้องพิจารณาสรรพสิ่งความเป็นไปอย่างยิ่งจิตใจและธาตุสี่แห่งกายสังขารตน<ref>[http://anuchah.com/seeing-dhamma/ ดวงตาเห็นธรรม] anuchah.com เรียกข้อมูลเมื่อ 2018-05-30.</ref>ซึ่งยังคงพึ่งอิงอาศัยอยู่บนโลก <ref>[https://www.gotoknow.org/posts/501554 หลักธรรมสำคัญของมหายาน] [[โกทูโนว์]] เรียกข้อมูลเมื่อ 2018-05-29.</ref>อีกด้านของยุคต่าง ๆ สมัยที่บ้านเมืองต้องอยู่กับสงครามความวุ่นวายปั่นป่วน นักบวชพุทธ[[มหายาน]]ในญี่ปุ่น<ref>[https://www.gotoknow.org/posts/501540 มหายานในประเทศญี่ปุ่น] [[โกทูโนว์]] เรียกข้อมูลเมื่อ 2018-05-28.</ref><ref>[https://www.gotoknow.org/posts/501542 ความแตกต่างระหว่างเถรวาทกับมหายานอย่างไร] [[โกทูโนว์]] เรียกข้อมูลเมื่อ 2018-05-29.</ref>เองนั้นก็ยังมีพระนักบวชซึ่งฝึกฝนเก่งกาจวิชาการต่อสู้เป็นพระนักรบ({{ญี่ปุ่น|僧兵(そうへい)|Sōhei "โซเฮ"}})<ref>[https://kotobank.jp/word/%E5%83%A7%E5%85%B5-89671 僧兵 (そうへい)] [[kotobank]] (ในภาษาญี่ปุ่น) เรียกข้อมูลเมื่อ 2018-05-30.</ref><ref>[https://dic.pixiv.net/a/%E5%83%A7%E5%85%B5 僧兵 (そうへい) 中世日本にいた僧形の武者。] dic.pixiv.net (ในภาษาญี่ปุ่น) เรียกข้อมูลเมื่อ 2018-05-28.</ref>ซึ่งเริ่มมีมาตั้งแต่[[ยุคเฮอัง|ยุคสมัยเฮอัน]] และกองกำลังกองทัพพระนักรบ<ref>[http://www.gypzyworld.com/article/view/487 พระนักรบญี่ปุ่น ทำไมถืออาวุธไม่ผิด] gypzyworld เรียกข้อมูลเมื่อ 2018-05-28.</ref>นั้นเป็นที่ยอมรับได้รับการยำเกรง


ความที่ผู้ที่เป็น[[พระสงฆ์]][[นักบวช]]มีจุดยืนอยู่ในตำแหน่งที่ได้รับความเคารพนับถือเป็นที่รวมความเคารพเชื่อถืออย่างสูง อำนาจของการเป็นพระนักบวชในพระศาสนาสามารถทำได้แม้แต่การจะชี้นำหรือแทรกแซงเปลี่ยนแปลงกระแสทิศทางในการปกครองมาแล้วหลายครั้งในหน้าประวัติศาสตร์<ref>[http://kamurai.itspy.com/nobunaga/sou.htm 僧侶「戦国時代」における 僧侶 とは?] พระสงฆ์นักบวชในช่วงเวลายุคสงครามรัฐ ? kamurai.itspy.com (ในภาษาญี่ปุ่น) เรียกข้อมูลเมื่อ 2018-05-30.</ref><ref>[https://rekijin.com/?p=22589 【歴史を振り返れば奴がいた!】戦国時代に活躍した僧侶たち] มองย้อนอดีตในประวัติศาสตร์นักบวชพระสงฆ์ผู้มีส่วนร่วมในสงครามรัฐ rekijin.com (ในภาษาญี่ปุ่น) เรียกข้อมูลเมื่อ 2018-05-30.</ref><ref>[http://www.taigafan.com/sanadamaru/tozainanboku/p/24.html 第24回 戦国大名の参謀に多い僧侶、なぜ彼らは大任を与えられたのか] taigafan.com (ในภาษาญี่ปุ่น) เรียกข้อมูลเมื่อ 2018-05-30.</ref>แม้นักบวชในศาสนาพุทธในญี่ปุ่นโดยปกติจะถือคติไม่เข้าไปยุ่งการเมืองหรือสงครามหากไม่โดนระรานขัดขวางหนทางก่อนแต่ไม่อาจปฏิเสธได้ว่าความน่าหวั่นเกรงนี้เองจึงถูกกดดันบีบบังคับทั้งทางตรงทางอ้อมจากชนชั้นปกครองญี่ปุ่น ลดทอนอำนาจจำกัดบทบาทของบุคคลสายนักบวช และพระนักบวชในศาสนาพุทธของญี่ปุ่นสมัยหลัง ๆ จำเป็นต้องหาเลี้ยงชีพตนเองหาค่าบำรุงในการดูแลวัดและผจญกับความลำบากกับการต้องพยายามธำรงรักษาพุทธศาสนาให้มีคงอยู่สืบสานต่อไปในญี่ปุ่นได้
ความที่พระภิกษุมีจุดยืนอยู่ในตำแหน่งที่ได้รับความเคารพนับถือเป็นที่รวมความเคารพเชื่อถืออย่างสูง อำนาจของพระสามารถทำได้แม้แต่การจะชี้นำหรือแทรกแซงเปลี่ยนแปลงกระแสทิศทางในการปกครองมาแล้วหลายครั้งในหน้าประวัติศาสตร์<ref>[http://kamurai.itspy.com/nobunaga/sou.htm 僧侶「戦国時代」における 僧侶 とは?] พระสงฆ์นักบวชในช่วงเวลายุคสงครามรัฐ ? kamurai.itspy.com (ในภาษาญี่ปุ่น) เรียกข้อมูลเมื่อ 2018-05-30.</ref><ref>[https://rekijin.com/?p=22589 【歴史を振り返れば奴がいた!】戦国時代に活躍した僧侶たち] มองย้อนอดีตในประวัติศาสตร์พระภิกษุผู้มีส่วนร่วมในสงครามรัฐ rekijin.com (ในภาษาญี่ปุ่น) เรียกข้อมูลเมื่อ 2018-05-30.</ref><ref>[http://www.taigafan.com/sanadamaru/tozainanboku/p/24.html 第24回 戦国大名の参謀に多い僧侶、なぜ彼らは大任を与えられたのか] taigafan.com (ในภาษาญี่ปุ่น) เรียกข้อมูลเมื่อ 2018-05-30.</ref>แม้พระภิกษุในญี่ปุ่นโดยปกติจะถือคติไม่เข้าไปยุ่งการเมืองหรือสงครามหากไม่โดนระรานขัดขวางหนทางก่อนแต่ไม่อาจปฏิเสธได้ว่าความน่าหวั่นเกรงนี้เองจึงถูกกดดันบีบบังคับทั้งทางตรงทางอ้อมจากชนชั้นปกครองญี่ปุ่น ลดทอนอำนาจจำกัดบทบาทของบุคคลสายนักบวช และนักบวชในศาสนาพุทธของญี่ปุ่นสมัยหลัง ๆ จำเป็นต้องหาเลี้ยงชีพตนเองหาค่าบำรุงในการดูแลวัดและผจญกับความลำบากกับการต้องพยายามธำรงรักษาพุทธศาสนาให้มีคงอยู่สืบสานต่อไปในญี่ปุ่นได้


ทว่าจากหลากหลายนิกายที่แบ่งออกมาจากนิกายหลัก ได้ทำให้ การถือบวชของนักบวชในศาสนาพุทธในญี่ปุ่นแตกแขนงออกเป็น 2 กลุ่ม 1.ถือบวชในรูปแบบที่เคร่งครัดต่อพระธรรมวินัย 2. ถือบวชโดยที่เป็นผู้อยู่ครองเรือนไม่ต่างจากฆราวาส เหตุที่นักบวชในศาสนาพุทธในญี่ปุ่นส่วนหนึ่งแต่งงานมีภรรยาได้สืบเนื่องมาจากนักปราชญ์สำคัญแห่งนิกายโจโด [[นักบวช]]โซนินชินรัน (พ.ศ. 1716 - พ.ศ. 1805) เป็นคนริเริ่มแรกที่นำเสนอว่าพระและวัดไม่สำคัญ ด้วยหลักคิดของนิกายโจโดเอง อีกทั้งตัวนักบวชโซนินชินรันมีภรรยา แต่ยังคงถือว่าตนเป็นนักบวชในพระพุทธศาสนาหากอยู่ร่วมกับผู้เป็นฆราวาส และตำแหน่งเจ้าอาวาสสืบทอดทางสายตระกูล ภายแรกเรื่องเช่นแนวทางนี้เป็นการลับ<ref>[http://www.cybervanaram.net/2009-12-17-14-43-37-13/201-2010-07-16-09-31-53 วัฒนธรรมและศาสนาของญี่ปุ่น] cybervanaram.net เรียกข้อมูลเมื่อ 2018-05-28.</ref> โซนินชินรันเป็นสาวกของโฮเน็น เป็นผู้ก่อตั้งนิกายโจโดซินชู(สุขาวดีที่แท้) ได้ย้ำว่าพระพุทธองค์นั้นได้เตรียมสวรรค์ไว้ให้แก่ผู้มีใจกุศลและลงโทษผู้มีใจอกุศล สิ่งที่จำเป็นสำหรับการที่จะได้มาซึ่งการช่วยเหลือให้พ้นทุกข์ก็คือการมีความเชื่อมั่นศรัทธา ถ้อยคำสอนของท่านนักบวชทั้งสองเป็นที่เข้าใจง่ายจึงได้รับความศรัทธาจากประชาชนชาวญี่ปุ่นตั้งแต่นั้นมา
ทว่าจากหลากหลายนิกายที่แบ่งออกมาจากนิกายหลัก ได้ทำให้ การถือบวชของนักบวชในศาสนาพุทธในญี่ปุ่นแตกแขนงออกเป็น 2 กลุ่ม 1.ถือบวชในรูปแบบที่เคร่งครัดต่อพระธรรมวินัย 2. ถือบวชโดยที่เป็นผู้อยู่ครองเรือนไม่ต่างจากฆราวาส เหตุที่นักบวชในศาสนาพุทธในญี่ปุ่นส่วนหนึ่งแต่งงานมีภรรยาได้สืบเนื่องมาจากนักปราชญ์สำคัญแห่งนิกายโจโด [[นักบวช]]โซนินชินรัน (พ.ศ. 1716 - พ.ศ. 1805) เป็นคนริเริ่มแรกที่นำเสนอว่าพระและวัดไม่สำคัญ ด้วยหลักคิดของนิกายโจโดเอง อีกทั้งตัวนักบวชโซนินชินรันมีภรรยา แต่ยังคงถือว่าตนเป็นนักบวชในพระพุทธศาสนาหากอยู่ร่วมกับผู้เป็นฆราวาส และตำแหน่งเจ้าอาวาสสืบทอดทางสายตระกูล ภายแรกเรื่องเช่นแนวทางนี้เป็นการลับ<ref>[http://www.cybervanaram.net/2009-12-17-14-43-37-13/201-2010-07-16-09-31-53 วัฒนธรรมและศาสนาของญี่ปุ่น] cybervanaram.net เรียกข้อมูลเมื่อ 2018-05-28.</ref> โซนินชินรันเป็นสาวกของโฮเน็น เป็นผู้ก่อตั้งนิกายโจโดซินชู(สุขาวดีที่แท้) ได้ย้ำว่าพระพุทธองค์นั้นได้เตรียมสวรรค์ไว้ให้แก่ผู้มีใจกุศลและลงโทษผู้มีใจอกุศล สิ่งที่จำเป็นสำหรับการที่จะได้มาซึ่งการช่วยเหลือให้พ้นทุกข์ก็คือการมีความเชื่อมั่นศรัทธา ถ้อยคำสอนของท่านนักบวชทั้งสองเป็นที่เข้าใจง่ายจึงได้รับความศรัทธาจากประชาชนชาวญี่ปุ่นตั้งแต่นั้นมา


แล้วเมื่อถึง[[ยุคเมจิ]]แนวคิดนี้ได้รับการสานต่ออย่างแพร่หลาย และส่วนหนึ่งจำยอม เมื่อองค์พระจักรพรรดิผู้นำผู้เป็นประมุขของประเทศสมัยนั้นต้องการให้พระนักบวชทุกนิกายล้มเลิกการถือพรหมจรรย์ ผู้นำของประเทศมีนโยบายล้มล้างพระพุทธศาสนาความเป็นไปของพระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นก็ยิ่งถูกสั่นคลอนอำนาจทางสังคมลดบทบาทลงไปอีก ลัทธิ[[ชินโต]]ที่เดิมเป็นศาสนาความเชื่อดั้งเดิมของดินแดนหมู่เกาะญี่ปุ่นได้รับการนำกลับมาเชิดชูให้รับการนิยมแทน[[พระพุทธศาสนา]]ซึ่งถูกกะเกณฑ์ให้ยกเลิกไปจากราชสำนักของพระจักรพรรดิสมัยนั้น นโยบายนี้เป็นนโยบายทางการเมืองที่ใช้เป็นวิธีการเรียกรวมความเชื่อเชิดชูธง[[ชินโต]]เดิมขึ้นมาใช้แก้เกมหลังจากล้มรัฐบาลโชกุนลงได้ แต่แล้วผลที่เกิดขึ้นจากการที่ญี่ปุ่นไปสู่สงครามโลกครั้งที่ 2 ทำให้บทบาทความเป็นศาสนาชินโตถูกลดลงเป็นลัทธิ<ref>[http://www.gypzyworld.com/article/view/491 ทำไมวัดพุทธหลายนิกายในญี่ปุ่นจึงโดนกวาดล้าง ..และชินโตหลังสงครามโลก] gypzyworld เรียกข้อมูลเมื่อ 2018-06-15.</ref> วัฒนธรรมตะวันตกที่หลั่งไหลเข้ามาในญี่ปุ่น การศึกษาเจริญมากขึ้น [[พระพุทธศาสนา]]ถูกยกขึ้นมาในแง่ของวิชาการ [[พระสงฆ์]]เริ่มงานการศึกษาและวิจัยอย่างจริงจังกว้างขวางตามวิธีสมัยใหม่ ส่วนหน้าที่ในการประกอบพิธีกรรมอันศักดิ์สิทธิ์นั้น พระสงฆ์แต่ละนิกายก็ยังคงจัดพิธีกรรมเป็นประเพณีตามนิกายของตน
แล้วเมื่อถึง[[ยุคเมจิ]]แนวคิดนี้ได้รับการสานต่ออย่างแพร่หลาย และส่วนหนึ่งจำยอม เมื่อองค์พระจักรพรรดิผู้นำผู้เป็นประมุขของประเทศสมัยนั้นต้องการให้พระนักบวชทุกนิกายล้มเลิกการถือพรหมจรรย์ ผู้นำของประเทศมีนโยบายล้มล้างพระพุทธศาสนาความเป็นไปของพระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นก็ยิ่งถูกสั่นคลอนอำนาจทางสังคมลดบทบาทลงไปอีก ลัทธิชินโตที่เดิมเป็นศาสนาความเชื่อดั้งเดิมของดินแดนหมู่เกาะญี่ปุ่นได้รับการนำกลับมาเชิดชูให้รับการนิยมแทน[[พระพุทธศาสนา]]ซึ่งถูกกะเกณฑ์ให้ยกเลิกไปจากราชสำนักของพระจักรพรรดิสมัยนั้น นโยบายนี้เป็นนโยบายทางการเมืองที่ใช้เป็นวิธีการเรียกรวมความเชื่อเชิดชูธงชินโตเดิมขึ้นมาใช้แก้เกมหลังจากล้มรัฐบาลโชกุนลงได้ แต่แล้วผลที่เกิดขึ้นจากการที่ญี่ปุ่นไปสู่สงครามโลกครั้งที่ 2 ทำให้บทบาทความเป็นศาสนาชินโตถูกลดลงเป็นลัทธิ<ref>[http://www.gypzyworld.com/article/view/491 ทำไมวัดพุทธหลายนิกายในญี่ปุ่นจึงโดนกวาดล้าง ..และชินโตหลังสงครามโลก] gypzyworld เรียกข้อมูลเมื่อ 2018-06-15.</ref> วัฒนธรรมตะวันตกที่หลั่งไหลเข้ามาในญี่ปุ่น การศึกษาเจริญมากขึ้น พระพุทธศาสนาถูกยกขึ้นมาในแง่ของวิชาการ พระสงฆ์เริ่มงานการศึกษาและวิจัยอย่างจริงจังกว้างขวางตามวิธีสมัยใหม่ ส่วนหน้าที่ในการประกอบพิธีกรรมอันศักดิ์สิทธิ์นั้น พระสงฆ์แต่ละนิกายก็ยังคงจัดพิธีกรรมเป็นประเพณีตามนิกายของตน


== นิกายของพุทธศาสนา ==
== นิกายของพุทธศาสนา ==
ในปัจจุบันชาวญี่ปุ่นนับถือ[[พระพุทธศาสนา]]ควบคู่ไปกับ[[ชินโต]] [[พระพุทธศาสนา]]แบ่งออกเป็นหลายนิกาย นิกายที่สำคัญ มีดังนี้
ในปัจจุบันชาวญี่ปุ่นนับถือพระพุทธศาสนาควบคู่ไปกับชินโต พระพุทธศาสนาแบ่งออกเป็นหลายนิกาย นิกายที่สำคัญ มีดังนี้


* '''[[นิกายเทนได]] (เทียนไท้)'''
* '''[[เทนได]]'''
:พระไซโจ (เด็งกะโยไดชิ) เป็นผู้ตั้ง มีหลักคำสอนเป็นหลักธรรมชั้นสูง ส่งเสริมให้บูชา[[พระโคตมพุทธเจ้า|พระพุทธเจ้าองค์ปัจจุบัน]]และ[[พระโพธิสัตว์]]
:พระไซโจ (เด็งกะโยไดชิ) เป็นผู้ตั้ง มีหลักคำสอนเป็นหลักธรรมชั้นสูง ส่งเสริมให้บูชา[[พระโคตมพุทธเจ้า]]และ[[พระโพธิสัตว์]]


* '''[[นิกายชินงอน]]'''
* '''[[ชิงงน]]'''
:พระกุไก หรือโกโบไดชิ เป็นผู้ตั้งในเวลาใกล้เคียงกับ[[นิกายเทนได]] มีหลักคำสอนตามนิกายตันตระ หรือ [[วัชรยาน]] สอนให้คนบรรลุโพธิญาณด้วยการสวดมนต์อ้อนวอน ถือ[[คัมภีร์มหาไวโรจนสูตร]]เป็นสำคัญ
:พระกุไก หรือโกโบไดชิ เป็นผู้ตั้งในเวลาใกล้เคียงกับเทนได มีหลักคำสอนตามนิกายตันตระ หรือ [[วัชรยาน]] สอนให้คนบรรลุโพธิญาณด้วยการสวดมนต์อ้อนวอน ถือ[[มหาไวโรจนสูตร]]เป็นสำคัญ


* '''[[นิกายโจโด]] (สุขาวดี)'''
* '''[[โจโด]]'''
:[[โฮเนน]] เป็นผู้ตั้งเมื่อ [[พ.ศ. 1718]] นิกายนี้สอนว่า [[สุขาวดี]]เป็นแดนอมตสุขผู้จะไปถึงได้ด้วยออกพระนาม[[พระอมิตาภพุทธะ]] นิกายนี้มีนิกายย่อยอีกมาก เช่น [[โจโดชิน]] (สุขาวดีแท้) ตั้งโดยชินแรน มีคติว่า ฮิโชฮิโชกุ ไม่มีพระไม่มีฆราวาส ทำให้พระในนิกายนี้มีภรรยาได้ฉันเนื้อได้ มีความเป็นอยู่คล้ายฆราวาส
:[[โฮเนน]] เป็นผู้ตั้งเมื่อ พ.ศ. 1718 นิกายนี้สอนว่า [[สุขาวดี]]เป็นแดนอมตสุขผู้จะไปถึงได้ด้วยออกพระนาม[[พระอมิตาภพุทธะ]] นิกายนี้มีนิกายย่อยอีกมาก เช่น [[โจโดชิน]] (สุขาวดีแท้) ตั้งโดยชินแรน มีคติว่า ฮิโชฮิโชกุ ไม่มีพระไม่มีฆราวาส ทำให้พระในนิกายนี้มีภรรยาได้ฉันเนื้อได้ มีความเป็นอยู่คล้ายฆราวาส


* '''นิกาย[[เซน]] (ธยาน หรือ ฌาน)'''
* '''[[เซน]]'''
:นิกายนี้ถือว่า ทุกคนมีธาตุพุทธะอยู่ในตัว ทำอย่างไรจึงจะให้ธาตุพุทธะนี้ปรากฏออกมาได้ โดยความสามารถของตัวเอง สอนให้ดำเนินชีวิตอย่างง่าย ให้เข้าถึงโพธิญาณอย่างฉับพลัน นิกายนี้คนชั้นสูง และพวกนักรบนิยมมาก เป็นต้นกำเนิดของ[[ลัทธิบูชิโด]] นับถือ[[พระโพธิธรรม]]ผู้เผยแพร่ใน[[ประเทศจีน]]
:นิกายนี้ถือว่า ทุกคนมีธาตุพุทธะอยู่ในตัว ทำอย่างไรจึงจะให้ธาตุพุทธะนี้ปรากฏออกมาได้ โดยความสามารถของตัวเอง สอนให้ดำเนินชีวิตอย่างง่าย ให้เข้าถึงโพธิญาณอย่างฉับพลัน นิกายนี้คนชั้นสูง และพวกนักรบนิยมมาก เป็นต้นกำเนิดของ[[ลัทธิบูชิโด]] นับถือ[[พระโพธิธรรม]]ผู้เผยแพร่ใน[[ประเทศจีน]]


* '''[[นิกายนิชิเรน]]'''
* '''[[นิจิเร็ง]]'''
:[[พระนิชิเรนไดโชนิน]] เป็นผู้ตั้ง นับถือ[[สัทธรรมปุณฑริกสูตร]]อย่างเดียว โดยภาวนาว่า '''นัม เมียว โฮ เร็ง เง เคียว''' (นโม สทฺธมฺมปุณฺฑริก สุตฺตสฺส ขอนอบน้อมแด่ สัทธรรม ปุณฑริกสูตร) เมื่อเปล่งคำนี้ออกมาด้วยความรู้สึกว่ามีตัวธาตุพุทธะอยู่ในใจ ก็บรรลุพุทธภาวะได้ ปัจจุบันมีนิกาย[[นิชิเรนโชชู]]เป็นนิกายที่สืบทอดมาโดยตรง และมีนิกายแตกย่อยมาอีก โดยมีกลุ่ม[[สมาคมสร้างคุณค่า]] หรือ สมาคมโซคา ที่ไม่อยู่สังกัดนิกายใด มีสมาชิกมากกว่า12ล้านครอบครัวใน192ประเทศเขตแคว้น
:[[พระนิจิเร็ง]]เป็นผู้ตั้ง นับถือ[[สัทธรรมปุณฑริกสูตร]]อย่างเดียว โดยภาวนาว่า '''นัม เมียว โฮ เร็ง เง เคียว''' (นโม สทฺธมฺมปุณฺฑริก สุตฺตสฺส ขอนอบน้อมแด่ สัทธรรม ปุณฑริกสูตร) เมื่อเปล่งคำนี้ออกมาด้วยความรู้สึกว่ามีตัวธาตุพุทธะอยู่ในใจ ก็บรรลุพุทธภาวะได้ ปัจจุบันมี[[นิจิเร็นโชชู]]เป็นนิกายที่สืบทอดมาโดยตรง และมีนิกายแตกย่อยมาอีก โดยมีกลุ่ม[[สมาคมสร้างคุณค่า]] หรือ สมาคมโซคา ที่ไม่อยู่สังกัดนิกายใด มีสมาชิกมากกว่า 12 ล้านครอบครัวใน192ประเทศเขตแคว้น


*'''[[นิกายไดเนริมะ]]'''
*'''[[ไดเนริมะ]]'''


== พุทธศาสนาหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ==
== พุทธศาสนาหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ==
บรรทัด 57: บรรทัด 57:


== พุทธศาสนาในปัจจุบัน ==
== พุทธศาสนาในปัจจุบัน ==
[[ประเทศญี่ปุ่น]]ในปัจจุบันเป็นประเทศมหาอำนาจทางเศรษฐกิจ ประชาชนดำเนินชีวิตด้วยความเร่งรีบเพราะมีการแข่งขันกันมาก ทำให้มีความเครียดและมีปัญหาด้านสุขภาพจิต เป็นโรคประสาท โรคจิต และสถิติการฆ่าตัวตายสูงมาก สิ่งที่จะช่วยบรรเทาความเครียดได้ ก็คือการปฏิบัติตามหลักธรรมใน[[พระพุทธศาสนา]] เนื่องจาก[[ญี่ปุ่น]]ชอบความเร็วให้ได้ผลทันใจ [[พระพุทธศาสนา]]นิกาย[[เซน]]จึงเป็นที่นิยม และมีการสร้างนิกายใหม่ ๆ หรือลัทธิใหม่ ๆ ที่ปฏิบัติได้ผลรวดเร็วอีกมาก คนญี่ปุ่นส่วนหนึ่งไม่นับถือศาสนาใดเลย แต่ยึดถือลัทธิการเมืองตามความชอบใจของตน
[[ประเทศญี่ปุ่น]]ในปัจจุบันเป็นประเทศมหาอำนาจทางเศรษฐกิจ ประชาชนดำเนินชีวิตด้วยความเร่งรีบเพราะมีการแข่งขันกันมาก ทำให้มีความเครียดและมีปัญหาด้านสุขภาพจิต เป็นโรคประสาท โรคจิต และสถิติการฆ่าตัวตายสูงมาก สิ่งที่จะช่วยบรรเทาความเครียดได้ ก็คือการปฏิบัติตามหลักธรรมในพระพุทธศาสนา เนื่องจากญี่ปุ่นชอบความเร็วให้ได้ผลทันใจ พระพุทธศาสนานิกาย[[เซน]]จึงเป็นที่นิยม และมีการสร้างนิกายใหม่ ๆ หรือลัทธิใหม่ ๆ ที่ปฏิบัติได้ผลรวดเร็วอีกมาก คนญี่ปุ่นส่วนหนึ่งไม่นับถือศาสนาใดเลย แต่ยึดถือลัทธิการเมืองตามความชอบใจของตน


ในทาง[[มหายาน]]ผู้นับถือไม่ว่าพระหรือ[[ฆราวาส]]จะเน้นอุบายโกศลคือความฉลาดในการหาวิธีการต่าง ๆ มาอธิบายคำสอนให้ผู้คนรู้จักแพร่หลายได้ พระ[[นักบวช]]ในญี่ปุ่นสมัยนี้พยายามปรับตัวทำการปฏิรูปวิธีเผยแผ่คำสอนให้เข้าถึงคนทุกกลุ่มทำให้ศาสนาใกล้ชิด[[พุทธศาสนิกชน]]มากขึ้น เจ้าอาวาสวัดโจไซจิบอกว่า ไม่ถือเป็นการผิดแผกแตกต่าง หรือผิดวินัย เพราะดนตรีมีต้นกำเนิดจากศาสนา ในสมัยโบราณนั้นดนตรีถูกบรรเลงเพื่อสรรเสริญพระพุทธเจ้าและพระเจ้าในศาสนาต่าง ๆ และเครื่องดนตรีหลายอย่างก็มีต้นกำเนิดมาจากในวัด ถ้าหากสามารถทำให้คนหันมาสนใจศึกษาพระธรรมได้ แม้เป็นพระก็ไม่ถือว่าผิดศีล เพราะพระมหายานจะเน้น[[โพธิสัตว์ศีล|ศีลพระโพธิสัตว์]]มากกว่า[[ศีล 227|ศีลของพระ]]ดังที่มีในนิกาย[[เถรวาท]] สำหรับการสวดมนต์ท่ามกลางเสียงดนตรีนั้น บรรดา[[พระสงฆ์]]จะสวดบทสวดมนต์ตามบทต้นฉบับ โดยมีทำนองดนตรีบรรเลงคลอตามไป ส่วนพุทธศาสนิกชนที่เข้าฟังก็จะพนมมือตั้งจิตตั้งใจฟัง <ref>https://siampongsnews.blogspot.com/2018/02/blog-post_85.html เรียกข้อมูลเมื่อ 2018-04-26.</ref>
ในทาง[[มหายาน]]ผู้นับถือไม่ว่าพระหรือ[[คฤหัสถ์]]จะเน้นอุบายโกศลคือความฉลาดในการหาวิธีการต่าง ๆ มาอธิบายคำสอนให้ผู้คนรู้จักแพร่หลายได้ นักบวชในญี่ปุ่นสมัยนี้พยายามปรับตัวทำการปฏิรูปวิธีเผยแผ่คำสอนให้เข้าถึงคนทุกกลุ่มทำให้ศาสนาใกล้ชิด[[พุทธศาสนิกชน]]มากขึ้น เจ้าอาวาสวัดโจไซจิบอกว่า ไม่ถือเป็นการผิดแผกแตกต่าง หรือผิดวินัย เพราะดนตรีมีต้นกำเนิดจากศาสนา ในสมัยโบราณนั้นดนตรีถูกบรรเลงเพื่อสรรเสริญพระพุทธเจ้าและพระเจ้าในศาสนาต่าง ๆ และเครื่องดนตรีหลายอย่างก็มีต้นกำเนิดมาจากในวัด ถ้าหากสามารถทำให้คนหันมาสนใจศึกษาพระธรรมได้ แม้เป็นพระก็ไม่ถือว่าผิดศีล เพราะพระมหายานจะเน้น[[โพธิสัตว์ศีล|ศีลพระโพธิสัตว์]]มากกว่า[[ศีล 227|ศีลของพระ]]ดังที่มีในนิกาย[[เถรวาท]] สำหรับการสวดมนต์ท่ามกลางเสียงดนตรีนั้น บรรดานักบวชจะสวดบทสวดมนต์ตามบทต้นฉบับ โดยมีทำนองดนตรีบรรเลงคลอตามไป ส่วนพุทธศาสนิกชนที่เข้าฟังก็จะพนมมือตั้งจิตตั้งใจฟัง <ref>https://siampongsnews.blogspot.com/2018/02/blog-post_85.html เรียกข้อมูลเมื่อ 2018-04-26.</ref>


== ดูเพิ่ม ==
== ดูเพิ่ม ==
* [[ศาสนาในประเทศญี่ปุ่น]]
* [[ศาสนาในประเทศญี่ปุ่น]]
* [[ประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น|ลำดับช่วงเวลาของยุคสมัยต่าง ๆ ในประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น]]


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
บรรทัด 69: บรรทัด 68:




[[หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์ศาสนาพุทธ]]
[[หมวดหมู่:ศาสนาพุทธในประเทศญี่ปุ่น| ]]
[[หมวดหมู่:มหายาน]]
[[หมวดหมู่:ศาสนาพุทธในประเทศญี่ปุ่น]]
[[หมวดหมู่:ประเทศญี่ปุ่น]]
[[หมวดหมู่:วัฒนธรรมญี่ปุ่น]]
{{โครงพระพุทธศาสนา}}
{{โครงพระพุทธศาสนา}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:30, 9 กันยายน 2564

ศาสนาพุทธเข้าสู่ประเทศญี่ปุ่นโดยผ่านประเทศเกาหลี ในหนังสือประวัติศาสตร์ญี่ปุ่นชื่อ นิฮงโชคิ (ญี่ปุ่น: 日本書紀(にほんしょき)โรมาจิNihon Shoki)[1] ได้บันทึกไว้ว่า วันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 1095 (ในยุคอาซึกะ) เป็นปีที่ 13 ของรัชกาลจักรพรรดิคิมเม จักรพรรดิญี่ปุ่นองค์ที่ 29 พระพุทธศาสนาได้เข้าสู่ญี่ปุ่น โดยพระเจ้าซองแห่งอาณาจักรแพ็กเจส่งราชทูตมายังราชสำนักจักรพรรดิคิมเม พร้อมด้วยพระพุทธรูป ธง คัมภีร์พุทธธรรม และพระราชสาสน์แสดงพระราชประสงค์ที่จะขอให้จักรพรรดิคิมเมรับนับถือพระพุทธศาสนา จักรพรรดิคินเมทรงรับด้วยความพอพระทัย

แม้จะมีการนับถือศาสนาพุทธในหมู่ชาวญี่ปุ่นอยู่ก่อนแล้ว โดยรับจากประเทศอินเดียผ่านประเทศจีนเข้ามายังญี่ปุ่นที่มีผู้นำมาถ่ายทอดจากแผ่นดินใหญ่ในช่วงก่อนต้นพุทธศตวรรษที่ 10 เพียงแต่ครั้งนี้เป็นการเริ่มต้นของพระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นอย่างเป็นหลักเป็นฐานที่ชัดเจนอยู่ในบันทึกนิฮงโชคิพงศาวดารญี่ปุ่นซึ่งเขียนโดยอาลักษณ์

พระพุทธศาสนาเป็นส่วนหนึ่งของรากฐานในวิถีชีวิตของชาวญี่ปุ่นมาร่วมสหัสวรรษ และในพันปีกว่านี้ชาวญี่ปุ่นยังได้เชื่อมโยงความเชื่อของพุทธศาสนาบางส่วนเข้าผสมผสานกับปรัชญาหลักคำสอนของศาสนาชินโตพื้นบ้าน[2] เช่น ความเชื่อในเรื่องของพระโพธิสัตว์และทวยเทพในศาสนาพุทธ ซึ่งได้ผนวกเป็นเทพเจ้าที่ได้รับการเคารพนับถือในศาสนาชินโต ความเชื่อมโยงนี้ซึมซับจนกลายเป็นส่วนหนึ่งของแกนรากทางวัฒนธรรมของประเทศญี่ปุ่นมาเนิ่นนานหลายศตวรรษ[3]

พุทธศาสนาเริ่มรุ่งเรืองในญี่ปุ่น

พระพุทธศาสนาได้เจริญขึ้นในประเทศญี่ปุ่น ในสมัยจักรพรรดิคิมเมเป็นอย่างมากแต่ที่ปรึกษาฝ่ายทหารและฝ่ายชินโตในยุคนั้นไม่เห็นด้วยกับจักรพรรดิคิมเม ฝ่ายไม่เห็นชอบพยายามขัดขวางการเผยแพร่ศาสตร์ทางพุทธเป็นสาเหตุสำคัญที่พุทธศาสนาไม่เผยแผ่กว้างขวางไปในทุกหมู่ชนชั้น และภายหลังที่พระองค์สิ้นพระชนม์แล้วจักรพรรดิองค์ต่อ ๆ มาก็มิได้ใส่พระทัยในพระพุทธศาสนาปล่อยให้พระพุทธศาสนาเสื่อมโทรมลง

กลางพุทธศตวรรษที่ 12 รัชสมัยจักรพรรดิโยเม จักรพรรดิองค์ที่ 31 ได้ทรงโปรดให้สร้างพระพุทธรูป ยากุชิเนียวไร หรือ พระไภษัชยคุรุ (ญี่ปุ่น: 薬師如来โรมาจิ Yakushi Nyorai , バイシャジヤグル Bhaisajyaguru) ต่อมารัชสมัยจักรพรรดิองค์ที่ 33 จักรพรรดินีซุอิโกะ พระนางทรงได้ตราพระราชเสาวนีย์เกี่ยวกับการเผยแผ่พระพุทธศาสนาโดยให้ยึดถือเป็นนโยบายของราชอาณาจักร ประกอบกับขณะนั้นเจ้าชายโชโตกุ ผู้เป็นผู้สำเร็จราชการแผ่นดิน ได้พิจารณาเห็นว่าพุทธศาสนาเป็นแหล่งความคิดที่ก่อให้เกิดปัญญา พระองค์ได้ส่งเสริมฟื้นฟูพระพุทธศาสนาในทุกวิถีทาง เมื่อ พ.ศ. 1135 เจ้าชายพระองค์นี้เองที่ได้วางรากฐานการปกครองประเทศญี่ปุ่นและสร้างสรรค์วัฒนธรรมพร้อมทรงเชิดชูพระพุทธศาสนา ยุคสมัยนี้ได้ชื่อว่า ยุคโฮโก คือยุคที่สัทธรรมไพโรจน์ ประชาชนญี่ปุ่นรวมเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ข้าราชการทหารพลเรือนทั้งปวงต่างแข่งขันกันสร้างวัดและสำนักปฏิบัติธรรมเป็นอันมาก ในงานด้านศาสนาและพระคัมภีร์แม้แต่ตัวเจ้าชายเองก็ได้ทรงงานเกี่ยวกับพระสูตรเขียนอรรถกถาอธิบายไว้ 3 เล่มด้วย นอกจากนี้เจ้าชายทรงได้ส่งคณะทูตและเหล่านักศึกษาไปยังจีนแผ่นดินใหญ่เพื่อศึกษาค้นคว้าหลักธรรมของพระพุทธศาสนากับวัฒนธรรมอื่น ๆ เพื่อยังประโยชน์ที่จะนำมาปรับปรุงราชอาณาจักรต่อไป ในวันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 1177 องค์พระจักรพรรดินีซุอิโกะได้ทรงประกาศพระราชโองการเชิดชูพระรัตนตรัย ตราขึ้นเป็นกฎหมาย ธรรมนูญ 17 มาตรา หลักแห่งธรรมนูญบัญญัตินี้สืบเนื่องด้วย เจ้าชายโชโตกุ ทรงได้มีพระราชนิพนธ์ขึ้นในปี พ.ศ.1147 รัฐธรรมนูญ 17 มาตรา เป็นกฎบัญญัติที่ประกาศหลักสามัคคีธรรมของสังคม และด้วยรูปการณ์ในกาลนั้นพระพุทธศาสนาได้หยั่งรากเจริญรุ่งเรืองอย่างมั่นคงในญี่ปุ่น

ส่วนงานสร้างจากรัชกาลก่อนด้วยพระประสงค์ของจักรพรรดิโยเม พระพุทธรูปยากุชิเนียวไรสร้างแล้วเสร็จหลังจากที่ทรงสวรรคตไป 20 ปี ภายในยุคสมัยของเจ้าชายโชโตกุผู้เป็นพระราชโอรสได้ทรงอัญเชิญองค์พระไปประดิษฐานอยู่ใน โฮริวจิ วัดแห่งนี้ได้สร้างขึ้นตามพระบัญชาของเจ้าชายและเพื่อเทิดพระเกียรติยศอุทิศแก่พระราชบิดาของพระองค์

ความเสื่อมและย่างก้าวของพุทธศาสตร์ในญี่ปุ่น

ในสมัยที่ได้มีการติดต่อทางวัฒนธรรมนำเอาพระคัมภีร์ทางพุทธศาสนาและอรรถกถาต่าง ๆ เข้าสู่ประเทศญี่ปุ่น เจ้าชายโชโตกุสิ้นพระชนม์เมื่อ พ.ศ. 1165 บรรดาประชาชนทั้งปวงมีความเศร้าโศกเป็นอันมาก จึงได้ร่วมกันสร้างพระพุทธรูปขนาดเท่าพระองค์ขึ้น 1 องค์ องค์ประดิษฐานไว้เป็นอนุสรณ์ที่วัดโฮริว และถัดมา พ.ศ. 1171 จักรพรรดินีซุอิโกะเสด็จสวรรคต หลังจากนั้นมาพระพุทธศาสนาก็ถูกแบ่งออกเป็นหลายนิกาย เป็นการคล้ายกับว่าพระพุทธศาสนาได้ถูกหยุดชะงักเพราะนโยบายการปกครองประเทศที่เปลี่ยนแปลงไปตามยุคของการเปลี่ยนผู้นำ ด้วยพระนักบวชเป็นที่เคารพอย่างสูงจากทั้งชาวบ้านขุนนางโดยไม่เว้นแม้แต่ระดับผู้นำอย่างราชวงศ์จักรพรรดิและโชกุน แต่ภาระหน้าที่ของพระสงฆ์นักบวชแต่โบราณกาลนอกจากเทศน์แก่สาธุชนช่วยเหลือผู้พอเหมาะสมพอควรอันอยู่ในทางที่พอช่วยได้แล้ว เดิมยังได้มีบทบาทในทางสังคมเป็นผู้นำทางจิตวิญญาณ ที่ปรึกษาปัญหาทางโลก ปัญหาทางธรรม ไปจนถึงการมีส่วนร่วมชี้นำการปกครองบ้างบางครั้งในคราวจำเป็น นักบวชพระสงฆ์เองผู้ซึ่งปฏิบัติธรรมย่อมตระหนักดีในเท็จจริงของโลกนี้ว่าการมุ่งไปสู่จุดหมายสูงสุดของสายทางบำเพ็ญเพียรจำเป็นต้องพิจารณาสรรพสิ่งความเป็นไปอย่างยิ่งจิตใจและธาตุสี่แห่งกายสังขารตน[4]ซึ่งยังคงพึ่งอิงอาศัยอยู่บนโลก [5]อีกด้านของยุคต่าง ๆ สมัยที่บ้านเมืองต้องอยู่กับสงครามความวุ่นวายปั่นป่วน นักบวชพุทธมหายานในญี่ปุ่น[6][7]เองนั้นก็ยังมีพระนักบวชซึ่งฝึกฝนเก่งกาจวิชาการต่อสู้เป็นพระนักรบ(ญี่ปุ่น: 僧兵(そうへい)โรมาจิSōhei "โซเฮ")[8][9]ซึ่งเริ่มมีมาตั้งแต่ยุคสมัยเฮอัน และกองกำลังกองทัพพระนักรบ[10]นั้นเป็นที่ยอมรับได้รับการยำเกรง

ความที่พระภิกษุมีจุดยืนอยู่ในตำแหน่งที่ได้รับความเคารพนับถือเป็นที่รวมความเคารพเชื่อถืออย่างสูง อำนาจของพระสามารถทำได้แม้แต่การจะชี้นำหรือแทรกแซงเปลี่ยนแปลงกระแสทิศทางในการปกครองมาแล้วหลายครั้งในหน้าประวัติศาสตร์[11][12][13]แม้พระภิกษุในญี่ปุ่นโดยปกติจะถือคติไม่เข้าไปยุ่งการเมืองหรือสงครามหากไม่โดนระรานขัดขวางหนทางก่อนแต่ไม่อาจปฏิเสธได้ว่าความน่าหวั่นเกรงนี้เองจึงถูกกดดันบีบบังคับทั้งทางตรงทางอ้อมจากชนชั้นปกครองญี่ปุ่น ลดทอนอำนาจจำกัดบทบาทของบุคคลสายนักบวช และนักบวชในศาสนาพุทธของญี่ปุ่นสมัยหลัง ๆ จำเป็นต้องหาเลี้ยงชีพตนเองหาค่าบำรุงในการดูแลวัดและผจญกับความลำบากกับการต้องพยายามธำรงรักษาพุทธศาสนาให้มีคงอยู่สืบสานต่อไปในญี่ปุ่นได้

ทว่าจากหลากหลายนิกายที่แบ่งออกมาจากนิกายหลัก ได้ทำให้ การถือบวชของนักบวชในศาสนาพุทธในญี่ปุ่นแตกแขนงออกเป็น 2 กลุ่ม 1.ถือบวชในรูปแบบที่เคร่งครัดต่อพระธรรมวินัย 2. ถือบวชโดยที่เป็นผู้อยู่ครองเรือนไม่ต่างจากฆราวาส เหตุที่นักบวชในศาสนาพุทธในญี่ปุ่นส่วนหนึ่งแต่งงานมีภรรยาได้สืบเนื่องมาจากนักปราชญ์สำคัญแห่งนิกายโจโด นักบวชโซนินชินรัน (พ.ศ. 1716 - พ.ศ. 1805) เป็นคนริเริ่มแรกที่นำเสนอว่าพระและวัดไม่สำคัญ ด้วยหลักคิดของนิกายโจโดเอง อีกทั้งตัวนักบวชโซนินชินรันมีภรรยา แต่ยังคงถือว่าตนเป็นนักบวชในพระพุทธศาสนาหากอยู่ร่วมกับผู้เป็นฆราวาส และตำแหน่งเจ้าอาวาสสืบทอดทางสายตระกูล ภายแรกเรื่องเช่นแนวทางนี้เป็นการลับ[14] โซนินชินรันเป็นสาวกของโฮเน็น เป็นผู้ก่อตั้งนิกายโจโดซินชู(สุขาวดีที่แท้) ได้ย้ำว่าพระพุทธองค์นั้นได้เตรียมสวรรค์ไว้ให้แก่ผู้มีใจกุศลและลงโทษผู้มีใจอกุศล สิ่งที่จำเป็นสำหรับการที่จะได้มาซึ่งการช่วยเหลือให้พ้นทุกข์ก็คือการมีความเชื่อมั่นศรัทธา ถ้อยคำสอนของท่านนักบวชทั้งสองเป็นที่เข้าใจง่ายจึงได้รับความศรัทธาจากประชาชนชาวญี่ปุ่นตั้งแต่นั้นมา

แล้วเมื่อถึงยุคเมจิแนวคิดนี้ได้รับการสานต่ออย่างแพร่หลาย และส่วนหนึ่งจำยอม เมื่อองค์พระจักรพรรดิผู้นำผู้เป็นประมุขของประเทศสมัยนั้นต้องการให้พระนักบวชทุกนิกายล้มเลิกการถือพรหมจรรย์ ผู้นำของประเทศมีนโยบายล้มล้างพระพุทธศาสนาความเป็นไปของพระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นก็ยิ่งถูกสั่นคลอนอำนาจทางสังคมลดบทบาทลงไปอีก ลัทธิชินโตที่เดิมเป็นศาสนาความเชื่อดั้งเดิมของดินแดนหมู่เกาะญี่ปุ่นได้รับการนำกลับมาเชิดชูให้รับการนิยมแทนพระพุทธศาสนาซึ่งถูกกะเกณฑ์ให้ยกเลิกไปจากราชสำนักของพระจักรพรรดิสมัยนั้น นโยบายนี้เป็นนโยบายทางการเมืองที่ใช้เป็นวิธีการเรียกรวมความเชื่อเชิดชูธงชินโตเดิมขึ้นมาใช้แก้เกมหลังจากล้มรัฐบาลโชกุนลงได้ แต่แล้วผลที่เกิดขึ้นจากการที่ญี่ปุ่นไปสู่สงครามโลกครั้งที่ 2 ทำให้บทบาทความเป็นศาสนาชินโตถูกลดลงเป็นลัทธิ[15] วัฒนธรรมตะวันตกที่หลั่งไหลเข้ามาในญี่ปุ่น การศึกษาเจริญมากขึ้น พระพุทธศาสนาถูกยกขึ้นมาในแง่ของวิชาการ พระสงฆ์เริ่มงานการศึกษาและวิจัยอย่างจริงจังกว้างขวางตามวิธีสมัยใหม่ ส่วนหน้าที่ในการประกอบพิธีกรรมอันศักดิ์สิทธิ์นั้น พระสงฆ์แต่ละนิกายก็ยังคงจัดพิธีกรรมเป็นประเพณีตามนิกายของตน

นิกายของพุทธศาสนา

ในปัจจุบันชาวญี่ปุ่นนับถือพระพุทธศาสนาควบคู่ไปกับชินโต พระพุทธศาสนาแบ่งออกเป็นหลายนิกาย นิกายที่สำคัญ มีดังนี้

พระไซโจ (เด็งกะโยไดชิ) เป็นผู้ตั้ง มีหลักคำสอนเป็นหลักธรรมชั้นสูง ส่งเสริมให้บูชาพระโคตมพุทธเจ้าและพระโพธิสัตว์
พระกุไก หรือโกโบไดชิ เป็นผู้ตั้งในเวลาใกล้เคียงกับเทนได มีหลักคำสอนตามนิกายตันตระ หรือ วัชรยาน สอนให้คนบรรลุโพธิญาณด้วยการสวดมนต์อ้อนวอน ถือมหาไวโรจนสูตรเป็นสำคัญ
โฮเนน เป็นผู้ตั้งเมื่อ พ.ศ. 1718 นิกายนี้สอนว่า สุขาวดีเป็นแดนอมตสุขผู้จะไปถึงได้ด้วยออกพระนามพระอมิตาภพุทธะ นิกายนี้มีนิกายย่อยอีกมาก เช่น โจโดชิน (สุขาวดีแท้) ตั้งโดยชินแรน มีคติว่า ฮิโชฮิโชกุ ไม่มีพระไม่มีฆราวาส ทำให้พระในนิกายนี้มีภรรยาได้ฉันเนื้อได้ มีความเป็นอยู่คล้ายฆราวาส
นิกายนี้ถือว่า ทุกคนมีธาตุพุทธะอยู่ในตัว ทำอย่างไรจึงจะให้ธาตุพุทธะนี้ปรากฏออกมาได้ โดยความสามารถของตัวเอง สอนให้ดำเนินชีวิตอย่างง่าย ให้เข้าถึงโพธิญาณอย่างฉับพลัน นิกายนี้คนชั้นสูง และพวกนักรบนิยมมาก เป็นต้นกำเนิดของลัทธิบูชิโด นับถือพระโพธิธรรมผู้เผยแพร่ในประเทศจีน
พระนิจิเร็งเป็นผู้ตั้ง นับถือสัทธรรมปุณฑริกสูตรอย่างเดียว โดยภาวนาว่า นัม เมียว โฮ เร็ง เง เคียว (นโม สทฺธมฺมปุณฺฑริก สุตฺตสฺส ขอนอบน้อมแด่ สัทธรรม ปุณฑริกสูตร) เมื่อเปล่งคำนี้ออกมาด้วยความรู้สึกว่ามีตัวธาตุพุทธะอยู่ในใจ ก็บรรลุพุทธภาวะได้ ปัจจุบันมีนิจิเร็นโชชูเป็นนิกายที่สืบทอดมาโดยตรง และมีนิกายแตกย่อยมาอีก โดยมีกลุ่มสมาคมสร้างคุณค่า หรือ สมาคมโซคา ที่ไม่อยู่สังกัดนิกายใด มีสมาชิกมากกว่า 12 ล้านครอบครัวใน192ประเทศเขตแคว้น

พุทธศาสนาหลังสงครามโลกครั้งที่สอง

หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้เปลี่ยนผ่านจากยุคเมจิเข้าสู่ยุคโชวะ มีนักการศึกษามากมายพยายามเชื่อมประสานพระพุทธศาสนานิกายต่าง ๆ เข้าด้วยกัน โดยจัดตั้งเป็นองค์การขึ้น องค์การสื่อสารสัมพันธ์ระหว่างชาวพุทธที่ใหม่ที่สุด คือ พุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งญี่ปุ่น (Japan Buddhist Federation) มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมเสริมความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดระหว่างนิกายและชาวพุทธในญี่ปุ่น วางแผนผนึกกำลังชาวพุทธในการดำเนินการเพื่อความก้าวหน้าและเสริมสร้างสันติสุขแก่ชาวโลก ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2500 มีสำนักงานอยู่ที่วัดชุกิจิ ฮองวันจิ ในนครโตเกียว กิจการทางพุทธศาสนาที่สำคัญและมีจุดเด่นก้าวหน้าที่สุดของญี่ปุ่น คือ การจัดการศึกษา พระพุทธศาสนานิกายต่าง ๆ จะมีมหาวิทยาลัย วิทยาลัย โรงเรียนระดับมัธยมศึกษาและระดับประถมศึกษาเป็นจำนวนมาก

ในด้านความเป็นอยู่ของนักบวชในศาสนาพุทธในญี่ปุ่นปัจจุบันนี้ นักบวชยังคงแบ่งได้เป็น 2 กลุ่ม
1. ดำรงตนรักษาพระธรรมวินัยอย่างเคร่งครัดและประพฤติพรหมจรรย์ตลอดการถือบวช 2. ถือบวชโดยยังคงแต่งงานมีครอบครัวมีภรรยามีลูกหลานสืบสกุลและใช้ชีวิตไม่ต่างจากฆราวาสที่เป็นชาวบ้านทั่วไป

จากนโยบายเดิมที่มีใช้กันในประเทศโดยรวมทั้งปรับตัวเพื่อความอยู่รอดจนคุ้นชินผู้คนส่วนหนึ่งไม่เห็นแปลกอย่างไร ต่อ ๆ มา นักบวชในศาสนาพุทธในญี่ปุ่นนิกายต่าง ๆ ส่วนใหญ่จึงมีครอบครัวภรรยาและบุตรสืบกันมา อีกเช่นเคยไม่ว่าที่ไหนหมู่คณะใดก็ย่อมมีที่ยกเว้นและต่างไปจากชนเหล่านั้น นักบวชที่เป็นพระระดับเจ้าอาวาสบางรูปและพระสงฆ์นักบวชที่ตั้งใจเคร่งเอาจริงเอาจังเอาพ้นทุกข์ก็ได้ยึดเอาพระธรรมวินัยเป็นหลักที่ตั้งประเภทที่ ยอมตายดีกว่าล้มเลิก จึงได้ทางหลุดรอดจากค่านิยมคำบีบบังคับตนที่ว่าที่เป็นความจำเป็นไปได้และปลีกวิเวกไปปฏิบัติอยู่อย่างสงบ ตำแหน่งพระนักบวชในศาสนาพุทธของทางญี่ปุ่นยังสืบทอดเป็นมรดกแก่บุตรคนโตที่ส่งต่อตำแหน่งกันในครอบครัวได้ด้วย นักบวชในศาสนาพุทธในญี่ปุ่นจัดเป็นอาชีพหนึ่ง เรียกว่า อาชีพพระ

พุทธศาสนาในปัจจุบัน

ประเทศญี่ปุ่นในปัจจุบันเป็นประเทศมหาอำนาจทางเศรษฐกิจ ประชาชนดำเนินชีวิตด้วยความเร่งรีบเพราะมีการแข่งขันกันมาก ทำให้มีความเครียดและมีปัญหาด้านสุขภาพจิต เป็นโรคประสาท โรคจิต และสถิติการฆ่าตัวตายสูงมาก สิ่งที่จะช่วยบรรเทาความเครียดได้ ก็คือการปฏิบัติตามหลักธรรมในพระพุทธศาสนา เนื่องจากญี่ปุ่นชอบความเร็วให้ได้ผลทันใจ พระพุทธศาสนานิกายเซนจึงเป็นที่นิยม และมีการสร้างนิกายใหม่ ๆ หรือลัทธิใหม่ ๆ ที่ปฏิบัติได้ผลรวดเร็วอีกมาก คนญี่ปุ่นส่วนหนึ่งไม่นับถือศาสนาใดเลย แต่ยึดถือลัทธิการเมืองตามความชอบใจของตน

ในทางมหายานผู้นับถือไม่ว่าพระหรือคฤหัสถ์จะเน้นอุบายโกศลคือความฉลาดในการหาวิธีการต่าง ๆ มาอธิบายคำสอนให้ผู้คนรู้จักแพร่หลายได้ นักบวชในญี่ปุ่นสมัยนี้พยายามปรับตัวทำการปฏิรูปวิธีเผยแผ่คำสอนให้เข้าถึงคนทุกกลุ่มทำให้ศาสนาใกล้ชิดพุทธศาสนิกชนมากขึ้น เจ้าอาวาสวัดโจไซจิบอกว่า ไม่ถือเป็นการผิดแผกแตกต่าง หรือผิดวินัย เพราะดนตรีมีต้นกำเนิดจากศาสนา ในสมัยโบราณนั้นดนตรีถูกบรรเลงเพื่อสรรเสริญพระพุทธเจ้าและพระเจ้าในศาสนาต่าง ๆ และเครื่องดนตรีหลายอย่างก็มีต้นกำเนิดมาจากในวัด ถ้าหากสามารถทำให้คนหันมาสนใจศึกษาพระธรรมได้ แม้เป็นพระก็ไม่ถือว่าผิดศีล เพราะพระมหายานจะเน้นศีลพระโพธิสัตว์มากกว่าศีลของพระดังที่มีในนิกายเถรวาท สำหรับการสวดมนต์ท่ามกลางเสียงดนตรีนั้น บรรดานักบวชจะสวดบทสวดมนต์ตามบทต้นฉบับ โดยมีทำนองดนตรีบรรเลงคลอตามไป ส่วนพุทธศาสนิกชนที่เข้าฟังก็จะพนมมือตั้งจิตตั้งใจฟัง [16]

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. 日本書紀 kotobank (ในภาษาญี่ปุ่น) เรียกข้อมูลเมื่อ 2018-05-28.
  2. ศาสนาชินโต วิทยาลัยศาสนศึกษามหาวิทยาลัยมหิดล เรียกข้อมูลเมื่อ 2018-06-15.
  3. ประวัติความเป็นมาของพระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น live japan เรียกข้อมูลเมื่อ 2018-06-15.
  4. ดวงตาเห็นธรรม anuchah.com เรียกข้อมูลเมื่อ 2018-05-30.
  5. หลักธรรมสำคัญของมหายาน โกทูโนว์ เรียกข้อมูลเมื่อ 2018-05-29.
  6. มหายานในประเทศญี่ปุ่น โกทูโนว์ เรียกข้อมูลเมื่อ 2018-05-28.
  7. ความแตกต่างระหว่างเถรวาทกับมหายานอย่างไร โกทูโนว์ เรียกข้อมูลเมื่อ 2018-05-29.
  8. 僧兵 (そうへい) kotobank (ในภาษาญี่ปุ่น) เรียกข้อมูลเมื่อ 2018-05-30.
  9. 僧兵 (そうへい) 中世日本にいた僧形の武者。 dic.pixiv.net (ในภาษาญี่ปุ่น) เรียกข้อมูลเมื่อ 2018-05-28.
  10. พระนักรบญี่ปุ่น ทำไมถืออาวุธไม่ผิด gypzyworld เรียกข้อมูลเมื่อ 2018-05-28.
  11. 僧侶「戦国時代」における 僧侶 とは? พระสงฆ์นักบวชในช่วงเวลายุคสงครามรัฐ ? kamurai.itspy.com (ในภาษาญี่ปุ่น) เรียกข้อมูลเมื่อ 2018-05-30.
  12. 【歴史を振り返れば奴がいた!】戦国時代に活躍した僧侶たち มองย้อนอดีตในประวัติศาสตร์พระภิกษุผู้มีส่วนร่วมในสงครามรัฐ rekijin.com (ในภาษาญี่ปุ่น) เรียกข้อมูลเมื่อ 2018-05-30.
  13. 第24回 戦国大名の参謀に多い僧侶、なぜ彼らは大任を与えられたのか taigafan.com (ในภาษาญี่ปุ่น) เรียกข้อมูลเมื่อ 2018-05-30.
  14. วัฒนธรรมและศาสนาของญี่ปุ่น cybervanaram.net เรียกข้อมูลเมื่อ 2018-05-28.
  15. ทำไมวัดพุทธหลายนิกายในญี่ปุ่นจึงโดนกวาดล้าง ..และชินโตหลังสงครามโลก gypzyworld เรียกข้อมูลเมื่อ 2018-06-15.
  16. https://siampongsnews.blogspot.com/2018/02/blog-post_85.html เรียกข้อมูลเมื่อ 2018-04-26.