ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การมาครั้งที่สอง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 1 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.8
 
บรรทัด 2: บรรทัด 2:
ตามความเชื่อของ[[คริสต์ศาสนิกชน]]และชาว[[มุสลิม]] '''การมาครั้งที่สอง'''<ref>''พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล ฉบับราชบัณฑิตยสถาน'', หน้า 582-3</ref> ({{lang-en|Second Coming}}) หมายถึงการที่[[พระเยซู]]จะเสด็จมาบนโลกอีกครั้งในอนาคต ความเชื่อนี้มีที่มาจากข้อความใน[[พระวรสารในสารบบ]]และถูกพัฒนาต่อมาตาม[[อวสานวิทยา]]ของ[[ศาสนาคริสต์]]และ[[ศาสนาอิสลาม]]
ตามความเชื่อของ[[คริสต์ศาสนิกชน]]และชาว[[มุสลิม]] '''การมาครั้งที่สอง'''<ref>''พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล ฉบับราชบัณฑิตยสถาน'', หน้า 582-3</ref> ({{lang-en|Second Coming}}) หมายถึงการที่[[พระเยซู]]จะเสด็จมาบนโลกอีกครั้งในอนาคต ความเชื่อนี้มีที่มาจากข้อความใน[[พระวรสารในสารบบ]]และถูกพัฒนาต่อมาตาม[[อวสานวิทยา]]ของ[[ศาสนาคริสต์]]และ[[ศาสนาอิสลาม]]


แนวคิดเรื่องการมาครั้งที่สองถือเป็นหลักความเชื่อสำคัญ จึงปรากฏรายละเอียดใน[[หลักข้อเชื่อไนซีน]]ว่า<ref>{{cite web|title=หลักข้อเชื่อไนซีน|url=http://teologio.org/th/creed.html|publisher= Theopedia.com|date=2007|accessdate=15 June 2013}}</ref>
แนวคิดเรื่องการมาครั้งที่สองถือเป็นหลักความเชื่อสำคัญ จึงปรากฏรายละเอียดใน[[หลักข้อเชื่อไนซีน]]ว่า<ref>{{cite web|title=หลักข้อเชื่อไนซีน|url=http://teologio.org/th/creed.html|publisher=Theopedia.com|date=2007|accessdate=15 June 2013|archive-date=2010-04-19|archive-url=https://web.archive.org/web/20100419071243/http://teologio.org/th/creed.html|url-status=dead}}</ref>
{{คำพูด|พระองค์เสด็จขึ้น[[สวรรค์]]ประทับ ณ เบื้องขวาของ[[พระเจ้าพระบิดา|พระบิดา]] พระองค์จะเสด็จมาอีกด้วย[[พระสิริ]] เพื่อ[[การพิพากษาครั้งสุดท้าย|พิพากษา]]ทั้งคนเป็นและคนตาย [[อาณาจักรของพระเป็นเจ้า|พระราชอาณาจักรของพระองค์]] ไม่รู้สิ้นสุด ข้าพเจ้าเชื่อมั่นใน[[การกลับคืนชีพของบรรดาผู้ตาย|การคืนชีพของผู้ที่ตายแล้ว]] และในชีวิต[[โลกหน้า]] ....[[อาเมน]]|หลักข้อเชื่อไนซีน}}
{{คำพูด|พระองค์เสด็จขึ้น[[สวรรค์]]ประทับ ณ เบื้องขวาของ[[พระเจ้าพระบิดา|พระบิดา]] พระองค์จะเสด็จมาอีกด้วย[[พระสิริ]] เพื่อ[[การพิพากษาครั้งสุดท้าย|พิพากษา]]ทั้งคนเป็นและคนตาย [[อาณาจักรของพระเป็นเจ้า|พระราชอาณาจักรของพระองค์]] ไม่รู้สิ้นสุด ข้าพเจ้าเชื่อมั่นใน[[การกลับคืนชีพของบรรดาผู้ตาย|การคืนชีพของผู้ที่ตายแล้ว]] และในชีวิต[[โลกหน้า]] ....[[อาเมน]]|หลักข้อเชื่อไนซีน}}



รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 22:46, 6 กันยายน 2564

การมาครั้งที่สอง

ตามความเชื่อของคริสต์ศาสนิกชนและชาวมุสลิม การมาครั้งที่สอง[1] (อังกฤษ: Second Coming) หมายถึงการที่พระเยซูจะเสด็จมาบนโลกอีกครั้งในอนาคต ความเชื่อนี้มีที่มาจากข้อความในพระวรสารในสารบบและถูกพัฒนาต่อมาตามอวสานวิทยาของศาสนาคริสต์และศาสนาอิสลาม

แนวคิดเรื่องการมาครั้งที่สองถือเป็นหลักความเชื่อสำคัญ จึงปรากฏรายละเอียดในหลักข้อเชื่อไนซีนว่า[2]

พระองค์เสด็จขึ้นสวรรค์ประทับ ณ เบื้องขวาของพระบิดา พระองค์จะเสด็จมาอีกด้วยพระสิริ เพื่อพิพากษาทั้งคนเป็นและคนตาย พระราชอาณาจักรของพระองค์ ไม่รู้สิ้นสุด ข้าพเจ้าเชื่อมั่นในการคืนชีพของผู้ที่ตายแล้ว และในชีวิตโลกหน้า ....อาเมน

— หลักข้อเชื่อไนซีน

ความเชื่อ[แก้]

ในพระวรสารนักบุญมัทธิวระบุว่า ก่อนบุตรมนุษย์จะเสด็จมาจะมีหลายคนอ้างตนเป็นพระคริสต์และเป็นผู้เผยพระวจนะแล้วล่อลวงคนให้หลงผิดจำนวนมาก มีข่าวลือเรื่องสงคราม คริสตชนจะเป็นที่รังเกียจและถูกเบียดเบียน จะเกิดความทุกข์ลำบากยิ่งใหญ่ที่สุด เมื่อความทุกข์นั้นจบสิ้นดวงอาทิตย์ดวงจันทร์และดวงดาวจะดับไป แล้วบุตรมนุษย์จะเสด็จมาบนเมฆบนท้องฟ้าด้วยฤทธิ์และรัศมีอันยิ่งใหญ่ แล้วจะทรงส่งทูตสวรรค์ออกไปรวบรวมบรรดาประชาชาติจากทั้งสี่ทิศ[3] เมื่อทรงประทับนั่งบนบัลลังก์แล้ว บรรดาประชาชาติทั้งหมดจะมาประชุมกันเฉพาะพระพักตร์ คนชอบธรรมจะถูกแยกไว้ทางขวามือส่วนคนที่ถูกสาปแช่งจะแยกไปอยู่ทางซ้ายมือ แล้วจะทรงมอบราชอาณาจักรให้คนชอบธรรมเพราะคนเหล่านี้ได้สงเคราะห์ผู้ยากไร้ ส่วนผู้ที่ถูกสาปแช่งจะถูกส่งไปรับโทษในนรกชั่วนิรันดร์เพราะคนพวกนี้ทอดทิ้งคนยากไร้[4]

อ้างอิง[แก้]

เชิงอรรถ
  1. พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, หน้า 582-3
  2. "หลักข้อเชื่อไนซีน". Theopedia.com. 2007. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-04-19. สืบค้นเมื่อ 15 June 2013.
  3. มธ. 24:3-36
  4. มธ. 25:31-46
บรรณานุกรม
  • พระคริสตธรรมคัมภีร์ ฉบับมาตรฐาน 2011. กรุงเทพฯ : สมาคมพระคริสตธรรมไทย, 2011. 2,695 หน้า. ISBN 978-616-721-871-7
  • พระคัมภีร์คาทอลิก ฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพฯ : คณะกรรมการคาทอลิกเพื่อคริสตศาสนธรรม แผนกพระคัมภีร์, 2014. 2495 หน้า. ISBN 978-616-361-361-5
  • ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2552. 734 หน้า. หน้า 505-506. ISBN 978-616-7073-03-3