ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สนธิสัญญาลอนดอน (ค.ศ. 1839)"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Narutzy (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับปรุงบางส่วน
บรรทัด 18: บรรทัด 18:
| mediators =
| mediators =
| negotiators =
| negotiators =
| original_signatories = ออสเตรีย, เบลเยียม, ฝรั่งเศส, สมาพันธรัฐเยอรมัน, เนเธอร์แลนด์, รัสเซีย, สหราชอาณาจักร
| original_signatories = Austria, Belgium, France, German Confederation, Netherlands, Russia, United Kingdom
| signatories =
| signatories =
| parties =
| parties =
| ratifiers = ออสเตรีย, เบลเยียม, ฝรั่งเศส, สมาพันธรัฐเยอรมัน, เนเธอร์แลนด์, รัสเซีย, สหราชอาณาจักร
| ratifiers = Austria, Belgium, France, German Confederation, Netherlands, Russia, United Kingdom
| depositor =
| depositor =
| depositories =
| depositories =
บรรทัด 31: บรรทัด 31:
| footnotes =
| footnotes =
}}
}}
'''สนธิสัญญาลอนดอน ค.ศ. 1839''' หรือเรียก'''สนธิสัญญาลอนดอนที่หนึ่ง''', '''อนุสัญญา ค.ศ. 1839''', '''สนธิสัญญาการแยกออกลอนดอน''' (London Treaty of Separation), '''สนธิสัญญาเบญจภาคี ค.ศ. 1839''' (Quintuple Treaty of 1839) หรือ'''สนธิสัญญายี่สิบสี่ข้อ''' เป็นสนธิสัญญาซึ่งมีการลงนามเมื่อวันที่ 19 เมษายน ค.ศ. 1839 ระหว่าง[[คอนเสิร์ตยุโรป]] (Concert of Europe) [[สหราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์]]และ[[ราชอาณาจักรเบลเยียม]] เป็นผลพวงโดยตรงจาก[[สนธิสัญญาสิบแปดข้อ]] ค.ศ. 1831 ซึ่งเนเธอร์แลนด์ปฏิเสธไม่ลงนาม และเป็นผลของการเจรจาที่'''การประชุมลอนดอน ค.ศ. 1838–1839'''<ref>{{cite book|url=http://books.google.com/?id=Q0_6pPNR40EC&pg=PA417&lpg=PA417&dq=%22London+conference%22+1839#v=onepage&q=%22London%20conference%22%201839&f=false|title=Places of Refuge: The Belgian Experience|page=417|chapter=Chapter 15|author=Eric Van Hooydonk|work=Places of Refuge for Ships: Emerging Environmental Concerns of a Maritime Custom|editors=Aldo E. Chircop, O. Lindén|publisher= Martinus Nijhoff|location=Leiden|year=2006|accessdate=30 May 2012|isbn=9789004149526}}<!-- not all the fields have the right names, so not all of the data is appearing --></ref>
'''สนธิสัญญาลอนดอน ค.ศ. 1839''' หรือเรียก '''สนธิสัญญาลอนดอนที่หนึ่ง''', '''อนุสัญญา ค.ศ. 1839''', '''สนธิสัญญาการแยกออกลอนดอน''' (London Treaty of Separation), '''สนธิสัญญาเบญจภาคี ค.ศ. 1839''' (Quintuple Treaty of 1839) หรือ '''สนธิสัญญายี่สิบสี่ข้อ''' เป็นสนธิสัญญาซึ่งมีการลงนามเมื่อวันที่ 19 เมษายน ค.ศ. 1839 ระหว่าง[[ความร่วมมือแห่งยุโรป]] (Concert of Europe) [[สหราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์]]และ[[ราชอาณาจักรเบลเยียม]] เป็นผลพวงโดยตรงจาก[[สนธิสัญญาสิบแปดข้อ]] ค.ศ. 1831 ซึ่งเนเธอร์แลนด์ปฏิเสธไม่ลงนาม และเป็นผลของการเจรจาที่การประชุมลอนดอน ค.ศ. 1838–1839<ref>{{cite book|url=http://books.google.com/?id=Q0_6pPNR40EC&pg=PA417&lpg=PA417&dq=%22London+conference%22+1839#v=onepage&q=%22London%20conference%22%201839&f=false|title=Places of Refuge: The Belgian Experience|page=417|chapter=Chapter 15|author=Eric Van Hooydonk|work=Places of Refuge for Ships: Emerging Environmental Concerns of a Maritime Custom|editors=Aldo E. Chircop, O. Lindén|publisher= Martinus Nijhoff|location=Leiden|year=2006|accessdate=30 May 2012|isbn=9789004149526}}<!-- not all the fields have the right names, so not all of the data is appearing --></ref>


ภายใต้สนธิสัญญา ชาติยุโรปรับรองและรับประกันเอกราชและความเป็นกลางของเบลเยียมและยืนยันเอกราชของ[[ลักเซมเบิร์ก]]ส่วนที่ประชากรพูดภาษาเยอรมัน ข้อ 7 กำหนดให้เบลเยียมเป็นกลางตลอดกาล และโดยการแสดงเจตนาเป็นนัย ผูกมัดชาติผู้ลงนามให้พิทักษ์ความเป็นกลางนั้นในกรณีการรุกราน<ref>{{cite book|url=http://books.google.co.uk/books?id=Q0_6pPNR40EC&pg=PA417&lpg=PA417&dq=%22London+conference%22+1839&source=bl&ots=7JU7qMfOjk&sig=2aSwdCqs_s8Y0YMkDM6u0yeYnLk&hl=en&sa=X&ei=nwjFT9rNMojQsgbzp8DyCg&ved=0CGEQ6AEwBQ#v=onepage&q=%22London%20conference%22%201839&f=false|title=Places of Refuge: The Belgian Experience|page=417|chapter=Chapter 15|author=Eric Van Hooydonk|editors=Aldo E. Chircop, O. Lindén|publisher=Martinus Nijhoff|location=Leiden|year=2006|accessdate=30 May 2012}}<!-- not all the fields have the right names, so not all of the data is appearing --></ref>
ภายใต้สนธิสัญญา ชาติยุโรปรับรองและรับประกันเอกราชและความเป็นกลางของเบลเยียมและยืนยันเอกราชของ[[ลักเซมเบิร์ก]]ส่วนที่ประชากรพูดภาษาเยอรมัน ข้อ 7 กำหนดให้เบลเยียมเป็นกลางตลอดกาล และโดยการแสดงเจตนาเป็นนัย ผูกมัดชาติผู้ลงนามให้พิทักษ์ความเป็นกลางนั้นในกรณีการรุกราน<ref>{{cite book|url=http://books.google.co.uk/books?id=Q0_6pPNR40EC&pg=PA417&lpg=PA417&dq=%22London+conference%22+1839&source=bl&ots=7JU7qMfOjk&sig=2aSwdCqs_s8Y0YMkDM6u0yeYnLk&hl=en&sa=X&ei=nwjFT9rNMojQsgbzp8DyCg&ved=0CGEQ6AEwBQ#v=onepage&q=%22London%20conference%22%201839&f=false|title=Places of Refuge: The Belgian Experience|page=417|chapter=Chapter 15|author=Eric Van Hooydonk|editors=Aldo E. Chircop, O. Lindén|publisher=Martinus Nijhoff|location=Leiden|year=2006|accessdate=30 May 2012}}<!-- not all the fields have the right names, so not all of the data is appearing --></ref>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:56, 5 กันยายน 2564

สนธิสัญญาลอนดอน (ค.ศ. 1839)
ชายแดนเบลเยียมก่อนลงนาม สนธิสัญญา
ประเภทสนธิสัญญาพหุภาคี
วันลงนาม19 เมษายน ค.ศ. 1839 (1839-04-19)
ที่ลงนามลอนดอน, สหราชอาณาจักร
ผู้ลงนามแรกเริ่มออสเตรีย, เบลเยียม, ฝรั่งเศส, สมาพันธรัฐเยอรมัน, เนเธอร์แลนด์, รัสเซีย, สหราชอาณาจักร
ผู้ให้สัตยาบันออสเตรีย, เบลเยียม, ฝรั่งเศส, สมาพันธรัฐเยอรมัน, เนเธอร์แลนด์, รัสเซีย, สหราชอาณาจักร

สนธิสัญญาลอนดอน ค.ศ. 1839 หรือเรียก สนธิสัญญาลอนดอนที่หนึ่ง, อนุสัญญา ค.ศ. 1839, สนธิสัญญาการแยกออกลอนดอน (London Treaty of Separation), สนธิสัญญาเบญจภาคี ค.ศ. 1839 (Quintuple Treaty of 1839) หรือ สนธิสัญญายี่สิบสี่ข้อ เป็นสนธิสัญญาซึ่งมีการลงนามเมื่อวันที่ 19 เมษายน ค.ศ. 1839 ระหว่างความร่วมมือแห่งยุโรป (Concert of Europe) สหราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์และราชอาณาจักรเบลเยียม เป็นผลพวงโดยตรงจากสนธิสัญญาสิบแปดข้อ ค.ศ. 1831 ซึ่งเนเธอร์แลนด์ปฏิเสธไม่ลงนาม และเป็นผลของการเจรจาที่การประชุมลอนดอน ค.ศ. 1838–1839[1]

ภายใต้สนธิสัญญา ชาติยุโรปรับรองและรับประกันเอกราชและความเป็นกลางของเบลเยียมและยืนยันเอกราชของลักเซมเบิร์กส่วนที่ประชากรพูดภาษาเยอรมัน ข้อ 7 กำหนดให้เบลเยียมเป็นกลางตลอดกาล และโดยการแสดงเจตนาเป็นนัย ผูกมัดชาติผู้ลงนามให้พิทักษ์ความเป็นกลางนั้นในกรณีการรุกราน[2]

อ้างอิง

  1. Eric Van Hooydonk (2006). "Chapter 15". Places of Refuge: The Belgian Experience. Places of Refuge for Ships: Emerging Environmental Concerns of a Maritime Custom. Leiden: Martinus Nijhoff. p. 417. ISBN 9789004149526. สืบค้นเมื่อ 30 May 2012. {{cite book}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |editors= ถูกละเว้น แนะนำ (|editor=) (help)
  2. Eric Van Hooydonk (2006). "Chapter 15". Places of Refuge: The Belgian Experience. Leiden: Martinus Nijhoff. p. 417. สืบค้นเมื่อ 30 May 2012. {{cite book}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |editors= ถูกละเว้น แนะนำ (|editor=) (help)