ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เล็ก สุมิตร"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 1 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.8
บรรทัด 33: บรรทัด 33:


== การเมือง ==
== การเมือง ==
พล.ร.ต.เล็ก ได้รับการแต่งตั้งเป็นสมาชิกวุฒิสภา ในปี พ.ศ. 2489<ref>[https://www.senate.go.th/assets/portals/1/files/list_senate2.pdf วุฒิสภาไทยชุดที่ 2]</ref> เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข ในรัฐบาลของนาย[[ควง อภัยวงศ์]] เมื่อปี พ.ศ. 2490<ref>http://www.soc.go.th/cab_19.htm</ref> และเป็น[[รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขของไทย|รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข]] ในรัฐบาลของนายควง อภัยวงศ์อีกสมัย ในปี พ.ศ. 2491<ref>http://www.soc.go.th/cab_20.htm</ref> ต่อมาเกิด[[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2491]] และมีการจัดตั้ง '''สภาร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2491''' เป็น[[สภาร่างรัฐธรรมนูญ (ประเทศไทย)|สภาร่างรัฐธรรมนูญคณะแรกของประเทศไทย]] โดยอาศัยอำนาจตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) เพื่อทำหน้าที่ร่าง[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2492]] มีสมาชิกจำนวน 40 คน ซึ่ง พล.ร.ต.เล็ก ได้รับแต่งตั้งในครั้งนั้นด้วย<ref>{{cite web|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2491/D/040/2089.PDF|title= ประกาศประธานวุฒิสภา เรื่อง ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ|format=PDF|publisher=ราชกิจจานุเบกษา}}</ref>
พล.ร.ต.เล็ก ได้รับการแต่งตั้งเป็นสมาชิกวุฒิสภา ในปี พ.ศ. 2489<ref>[https://www.senate.go.th/assets/portals/1/files/list_senate2.pdf วุฒิสภาไทยชุดที่ 2]</ref> เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข ในรัฐบาลของนาย[[ควง อภัยวงศ์]] เมื่อปี พ.ศ. 2490<ref>http://www.soc.go.th/cab_19.htm</ref> และเป็น[[รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขของไทย|รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข]] ในรัฐบาลของนายควง อภัยวงศ์อีกสมัย ในปี พ.ศ. 2491<ref>{{Cite web |url=http://www.soc.go.th/cab_20.htm |title=สำเนาที่เก็บถาวร |access-date=2020-06-15 |archive-date=2019-07-16 |archive-url=https://web.archive.org/web/20190716004017/http://www.soc.go.th/cab_20.htm |url-status=dead }}</ref> ต่อมาเกิด[[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2491]] และมีการจัดตั้ง '''สภาร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2491''' เป็น[[สภาร่างรัฐธรรมนูญ (ประเทศไทย)|สภาร่างรัฐธรรมนูญคณะแรกของประเทศไทย]] โดยอาศัยอำนาจตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) เพื่อทำหน้าที่ร่าง[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2492]] มีสมาชิกจำนวน 40 คน ซึ่ง พล.ร.ต.เล็ก ได้รับแต่งตั้งในครั้งนั้นด้วย<ref>{{cite web|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2491/D/040/2089.PDF|title= ประกาศประธานวุฒิสภา เรื่อง ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ|format=PDF|publisher=ราชกิจจานุเบกษา}}</ref>


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:01, 3 กันยายน 2564

เล็ก สุมิตร
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข
ดำรงตำแหน่ง
25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2491 – 8 เมษายน พ.ศ. 2491
นายกรัฐมนตรีควง อภัยวงศ์
ก่อนหน้าประจวบ บุนนาค
ถัดไปพระยาบริรักษ์เวชชการ
รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข
ดำรงตำแหน่ง
11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 – 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2491
นายกรัฐมนตรีควง อภัยวงศ์

พลเรือตรี เล็ก สุมิตร เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข[1] และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข อดีตผู้บังคับการกรมแพทย์ทหารเรือ

ประวัติ

พล.ร.ต.เล็ก สุมิตร สำเร็จการศึกษาแพทย์ศาสตร์ (L.C.R., M.R.C.S., D.T.M) จากกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ เขาเข้ารับราชการเป็นทหารเรือชาวไทย เคยดำรงตำแหน่งสูงสุดเป็นผู้บังคับการกรมแพทย์ทหารเรือ (พ.ศ. 2476 - 2489)[2] และนายแพทย์ใหญ่ทหารเรือ อีกทั้งยังเคยเป็นอาจารย์สอนวิชาศัลกรรมที่คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล[3]

พล.ร.ต.เล็ก เป็นผู้ออกแบบสนามกอล์ฟของสมาคมกรุงเทพกรีฑา เมื่อปี พ.ศ. 2512[4]

การเมือง

พล.ร.ต.เล็ก ได้รับการแต่งตั้งเป็นสมาชิกวุฒิสภา ในปี พ.ศ. 2489[5] เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข ในรัฐบาลของนายควง อภัยวงศ์ เมื่อปี พ.ศ. 2490[6] และเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ในรัฐบาลของนายควง อภัยวงศ์อีกสมัย ในปี พ.ศ. 2491[7] ต่อมาเกิดรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2491 และมีการจัดตั้ง สภาร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2491 เป็นสภาร่างรัฐธรรมนูญคณะแรกของประเทศไทย โดยอาศัยอำนาจตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) เพื่อทำหน้าที่ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2492 มีสมาชิกจำนวน 40 คน ซึ่ง พล.ร.ต.เล็ก ได้รับแต่งตั้งในครั้งนั้นด้วย[8]

อ้างอิง

  1. รายนามรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข
  2. ทำเนียบเจ้ากรมแพทย์ทหารเรือ
  3. ยุคบุกเบิกคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
  4. สมาคมกรุงเทพกรีฑา
  5. วุฒิสภาไทยชุดที่ 2
  6. http://www.soc.go.th/cab_19.htm
  7. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-07-16. สืบค้นเมื่อ 2020-06-15.
  8. "ประกาศประธานวุฒิสภา เรื่อง ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา.