ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หลวงชำนาญนิติเกษตร (อุทัย แสงมณี)"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Dukeadinbera (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 1 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.8
บรรทัด 8: บรรทัด 8:


=== การทำงาน ===
=== การทำงาน ===
ในปี พ.ศ. 2477 รัฐบาลสยามได้จัดประกวดเนื้อร้องเพลงชาติใหม่ โดยมีคณะกรรมการพิจารณาเพลงชาติ โดยหนึ่งในนั้นประกอบด้วย หลวงชำนาญนิติเกษตร ต่อมาเขาได้เป็นหัวหน้า[[กรมประชาสัมพันธ์|สำนักงานโฆษณาการ]] (พ.ศ. 2479-2480)<ref>https://www.prd.go.th/download/management.pdf</ref> ในปี พ.ศ. 2484 หลวงชำนาญนิติเกษตร ได้เป็น[[รายนามรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงยุติธรรมของไทย|รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงยุติธรรม]] ตั้งแต่วันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2484 - 26 กันยายน พ.ศ. 2484 และ[[รายนามรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ของไทย|รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์]] ตั้งแต่วันที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2484 - 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2485 โดยเป็นผู้ประเดิมตำแหน่งเป็นคนแรกทั้งสองตำแหน่ง
ในปี พ.ศ. 2477 รัฐบาลสยามได้จัดประกวดเนื้อร้องเพลงชาติใหม่ โดยมีคณะกรรมการพิจารณาเพลงชาติ โดยหนึ่งในนั้นประกอบด้วย หลวงชำนาญนิติเกษตร ต่อมาเขาได้เป็นหัวหน้า[[กรมประชาสัมพันธ์|สำนักงานโฆษณาการ]] (พ.ศ. 2479-2480)<ref>{{Cite web |url=https://www.prd.go.th/download/management.pdf |title=สำเนาที่เก็บถาวร |access-date=2020-04-07 |archive-date=2017-12-11 |archive-url=https://web.archive.org/web/20171211050643/http://www.prd.go.th/download/management.pdf |url-status=dead }}</ref> ในปี พ.ศ. 2484 หลวงชำนาญนิติเกษตร ได้เป็น[[รายนามรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงยุติธรรมของไทย|รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงยุติธรรม]] ตั้งแต่วันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2484 - 26 กันยายน พ.ศ. 2484 และ[[รายนามรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ของไทย|รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์]] ตั้งแต่วันที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2484 - 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2485 โดยเป็นผู้ประเดิมตำแหน่งเป็นคนแรกทั้งสองตำแหน่ง


ในปี พ.ศ. 2489 ก็ได้ดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมของไทย ใน[[คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 15|รัฐบาล]][[ปรีดี พนมยงค์]]<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2489/A/016/120.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศ ตั้งและแต่งตั้งรัฐมนตรี (จำนวน ๑๖ ราย)]</ref> และเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 2 ในปี พ.ศ. 2494<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2494/A/071/1.PDF ประกาศ แต่งตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ ๒]</ref>
ในปี พ.ศ. 2489 ก็ได้ดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมของไทย ใน[[คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 15|รัฐบาล]][[ปรีดี พนมยงค์]]<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2489/A/016/120.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศ ตั้งและแต่งตั้งรัฐมนตรี (จำนวน ๑๖ ราย)]</ref> และเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 2 ในปี พ.ศ. 2494<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2494/A/071/1.PDF ประกาศ แต่งตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ ๒]</ref>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 05:16, 31 สิงหาคม 2564

หลวงชำนาญนิติเกษตร

รองอำมาตย์เอก หลวงชำนาญนิติเกษตร เดิมชื่อ อุทัย แสงมณี เป็นรัฐมนตรีช่วยว่ากระทรวงยุติธรรม ในคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9 โดยมีจอมพล แปลก พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 15 โดยมีปรีดี พนมยงค์ เป็นนายกรัฐมนตรี และเป็นสมาชิกคณะราษฎรสายพลเรือน

ประวัติ

ชีวิตครอบครัว

หลวงชำนาญนิติเกษตร เดิมชื่อ อุทัย แสงมณี สมรสกับท่านหญิงคันธรสรังษี แสงมณี[1] (พระนามเดิม: หม่อมเจ้าคันธรสรังษี รพีพัฒน์) พระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ และหม่อมแดง รพีพัฒน์ ณ อยุธยา แต่ไม่มีบุตรธิดาด้วยกัน

การทำงาน

ในปี พ.ศ. 2477 รัฐบาลสยามได้จัดประกวดเนื้อร้องเพลงชาติใหม่ โดยมีคณะกรรมการพิจารณาเพลงชาติ โดยหนึ่งในนั้นประกอบด้วย หลวงชำนาญนิติเกษตร ต่อมาเขาได้เป็นหัวหน้าสำนักงานโฆษณาการ (พ.ศ. 2479-2480)[2] ในปี พ.ศ. 2484 หลวงชำนาญนิติเกษตร ได้เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงยุติธรรม ตั้งแต่วันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2484 - 26 กันยายน พ.ศ. 2484 และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ ตั้งแต่วันที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2484 - 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2485 โดยเป็นผู้ประเดิมตำแหน่งเป็นคนแรกทั้งสองตำแหน่ง

ในปี พ.ศ. 2489 ก็ได้ดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมของไทย ในรัฐบาลปรีดี พนมยงค์[3] และเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 2 ในปี พ.ศ. 2494[4]

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

อ้างอิง

  1. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักพระราชวัง เรื่อง ลาออกจากฐานันดรศักดิ์แห่งพระราชวงศ์, เล่ม ๖๐, ตอน ๑๓ ง, ๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๘๖, หน้า ๗๗๘
  2. "สำเนาที่เก็บถาวร" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2017-12-11. สืบค้นเมื่อ 2020-04-07.
  3. พระบรมราชโองการ ประกาศ ตั้งและแต่งตั้งรัฐมนตรี (จำนวน ๑๖ ราย)
  4. ประกาศ แต่งตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ ๒
  5. แจ้งความสำนักคณะรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์
  6. แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์