ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศาลาการเปรียญ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 1 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.8
 
บรรทัด 8: บรรทัด 8:


==ดูเพิ่ม==
==ดูเพิ่ม==
* [http://elearning.su.ac.th/elearning-uploads2/libs/html/16231/index.htm วัด : พุทธศาสนสถาปัตยกรรมไทย]
* [http://elearning.su.ac.th/elearning-uploads2/libs/html/16231/index.htm วัด : พุทธศาสนสถาปัตยกรรมไทย] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20070811013517/http://elearning.su.ac.th/elearning-uploads2/libs/html/16231/index.htm |date=2007-08-11 }}
* [http://www.thapra.lib.su.ac.th/objects/rarebook/r35/na3578_7ก1พ43.pdf พุทธศิลปะสถาปัตยกรรม ภาคต้น โดย พระพรหมพิจิตร]
* [http://www.thapra.lib.su.ac.th/objects/rarebook/r35/na3578_7ก1พ43.pdf พุทธศิลปะสถาปัตยกรรม ภาคต้น โดย พระพรหมพิจิตร]



รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 16:36, 29 สิงหาคม 2564

ศาลาการเปรียญ

ศาลาการเปรียญ เป็นอาคารอเนกประสงค์ในงานสถาปัตยกรรมไทย ซึ่งก่อสร้างในเขตสังฆาวาส ในบริเวณวัด เพื่อใช้ประกอบกิจกรรมต่าง ๆ ทางพุทธศาสนา แต่เดิมนั้นใช้เป็นสถานที่เพื่อการเรียนของสงฆ์เท่านั้น (“เปรียญ” มาจากภาษาบาลีว่า “บาเรียน” หมายถึง “พระที่ได้เรียน” หรือ “พระนักเรียน) ศาลาการเปรียญจัดเป็นศาสนสถานที่สำคัญของวัดรองลงมาจากอุโบสถ โบราณว่า "อุโบสถเป็นที่สำหรับพระพุทธ ศาลาการเปรียญเป็นที่สำหรับพระธรรม" คือ เป็นที่เผยแผ่ธรรม[1]

ศาลาการเปรียญมีลักษณะคล้ายเรือนหลังใหญ่ ยกพื้นสูงเสมอศีรษะคนยืน มีเฉลียงโดยรอบ กั้นฝาแต่ละด้านเป็นฝาโปร่ง ๆ ด้านหนึ่งทำยกพื้นเป็นอาสน์สงฆ์ สำหรับพระสงฆ์ขึ้นนั่งเจริญพระพุทธมนต์ ตรงหัวอาสน์สงฆ์ด้านหนึ่ง เป็นที่ตั้งพระพุทธรูป และเครื่องบูชา[2]

อ้างอิง[แก้]

  1. "ศาลา-ศาลาการเปรียญ : คำวัด โดยพระธรรมกิตติวงศ์". คมชัดลึก.
  2. "สิ่งปลูกสร้างในเขตสังฆาวาส". สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ.

ดูเพิ่ม[แก้]

หนังสือ[แก้]

  • สมคิด จิระทัศนกุล วัด: พุทธศาสนสถาปัตยกรรมไทย โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2544. ISBN 974-6006-81-9