ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กิริกัว"

พิกัด: 15°16′14.1″N 89°02′24.9″W / 15.270583°N 89.040250°W / 15.270583; -89.040250
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nomedizas (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: {{กล่องข้อมูล มรดกโลก | WHS = อุทยานโบราณคดีและซากเมืองกิริกัว | Image = 260px | Caption = สิ่งก่อสร้างในเมืองโบราณกิริกัว | Coordinates = {{coord|15|16|14.1|N|89|02|24.9|W|display=inline, title}} | Country = {{flagcountry|GUA}} | Region =...
 
Nomedizas (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 16: บรรทัด 16:
'''กิริกัว''' ({{lang-es|Quiriguá}}) เป็นแหล่งโบราณคดี[[อารยธรรมมายา|มายา]]ใน[[จังหวัดอิซาบัล]]ทางตะวันออกเฉียงใต้ของ[[ประเทศกัวเตมาลา]] เป็นแหล่งขนาดกลางที่ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 3 ตารางกิโลเมตร (1.2 ตารางไมล์) ตามแนว[[แม่น้ำโมตากัว]]ตอนล่าง<ref>Ashmore 1980, p.24.</ref> โดยมีศูนย์กลางประกอบพิธีกรรมตั้งอยู่ห่างจากฝั่งเหนือของแม่น้ำประมาณ 1 กิโลเมตร (0.6 ไมล์)<ref name="Sharer352">Sharer & Traxler 2006, p.352.</ref> ใน[[ลำดับเวลามีโซอเมริกา|สมัยคลาสสิก]]ของอารยธรรมมายา (ค.ศ. 200–900) กีริกัวเป็นจุดเชื่อมต่อของเส้นทางการค้าที่สำคัญหลายเส้นทาง บริเวณนี้มีผู้คนเข้าครอบครองก่อน ค.ศ. 200 การก่อสร้าง[[อะโครโพลิส|อัครปุระ]]เริ่มขึ้นเมื่อประมาณ ค.ศ. 550 และการก่อสร้างอาคารขนาดใหญ่จำนวนมากเริ่มขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 8 การก่อสร้างทั้งหมดหยุดลงเมื่อถึงประมาณ ค.ศ. 850 ยกเว้นในช่วงที่มีผู้คนกลับเข้าไปครอบครองอยู่ระยะหนึ่งในสมัยหลังคลาสสิกตอนต้น (ค.ศ. 900–1200) กิริกัวมีแบบอย่างทางสถาปัตยกรรมและประติมากรรมคล้ายคลึงกับ[[โกปัน]]ที่ตั้งอยู่ใกล้เคียง โดยเมืองทั้งสองมีประวัติศาสตร์เกี่ยวพันกันอย่างใกล้ชิด<ref>Miller 1999, p.49.</ref>
'''กิริกัว''' ({{lang-es|Quiriguá}}) เป็นแหล่งโบราณคดี[[อารยธรรมมายา|มายา]]ใน[[จังหวัดอิซาบัล]]ทางตะวันออกเฉียงใต้ของ[[ประเทศกัวเตมาลา]] เป็นแหล่งขนาดกลางที่ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 3 ตารางกิโลเมตร (1.2 ตารางไมล์) ตามแนว[[แม่น้ำโมตากัว]]ตอนล่าง<ref>Ashmore 1980, p.24.</ref> โดยมีศูนย์กลางประกอบพิธีกรรมตั้งอยู่ห่างจากฝั่งเหนือของแม่น้ำประมาณ 1 กิโลเมตร (0.6 ไมล์)<ref name="Sharer352">Sharer & Traxler 2006, p.352.</ref> ใน[[ลำดับเวลามีโซอเมริกา|สมัยคลาสสิก]]ของอารยธรรมมายา (ค.ศ. 200–900) กีริกัวเป็นจุดเชื่อมต่อของเส้นทางการค้าที่สำคัญหลายเส้นทาง บริเวณนี้มีผู้คนเข้าครอบครองก่อน ค.ศ. 200 การก่อสร้าง[[อะโครโพลิส|อัครปุระ]]เริ่มขึ้นเมื่อประมาณ ค.ศ. 550 และการก่อสร้างอาคารขนาดใหญ่จำนวนมากเริ่มขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 8 การก่อสร้างทั้งหมดหยุดลงเมื่อถึงประมาณ ค.ศ. 850 ยกเว้นในช่วงที่มีผู้คนกลับเข้าไปครอบครองอยู่ระยะหนึ่งในสมัยหลังคลาสสิกตอนต้น (ค.ศ. 900–1200) กิริกัวมีแบบอย่างทางสถาปัตยกรรมและประติมากรรมคล้ายคลึงกับ[[โกปัน]]ที่ตั้งอยู่ใกล้เคียง โดยเมืองทั้งสองมีประวัติศาสตร์เกี่ยวพันกันอย่างใกล้ชิด<ref>Miller 1999, p.49.</ref>


การขยายตัวอย่างรวดเร็วของกิริกัวในคริสต์ศตวรรษที่ 8 มีความสัมพันธ์กับชัยชนะทางการทหารของกษัตริย์กัก ตีลิว ชัน โยปาต เหนือโกปันใน ค.ศ. 738 เมื่อกษัตริย์วาชักลาฆูน อูบาฮ์ กาวีล แห่งโกปันทรงพ่ายแพ้ ถูกจับ และถูกบูชายัญที่จัตุรัสใหญ่แห่งกิริกัว<ref>Looper 2003, pp.4&ndash;5, 83.</ref> ก่อนหน้านี้กิริกัวเคยเป็นรัฐบริวารของโกปันแต่ก็รักษาเอกราชไว้ได้ในภายหลัง สถาปัตยกรรมที่เกี่ยวกับพิธีกรรมในกิริกัวมีลักษณะค่อนข้างเรียบง่าย แต่ความสำคัญของแหล่งโบราณคดีนี้อยู่ที่ความรุ่มรวยของงานประติมากรรมซึ่งรวมถึงรูปปั้นหินที่สูงที่สุดเท่าที่เคยสร้างขึ้นใน[[โลกใหม่]]<ref name="Coe121">Coe 1999, p.121.</ref>
การขยายตัวอย่างรวดเร็วของกิริกัวในคริสต์ศตวรรษที่ 8 มีความสัมพันธ์กับชัยชนะทางการทหารของกษัตริย์กัก ตีลิว ชัน โยปาต เหนือโกปันใน ค.ศ. 738 เมื่อกษัตริย์วาชักลาฆูน อูบาฮ์ กาวีล แห่งโกปันทรงพ่ายแพ้ ถูกจับ และถูกบูชายัญที่จัตุรัสใหญ่แห่งกิริกัว<ref>Looper 2003, pp.4&ndash;5, 83.</ref> ก่อนหน้านี้กิริกัวเคยเป็นรัฐบริวารของโกปันแต่ก็รักษาเอกราชไว้ได้ในภายหลัง สถาปัตยกรรมที่เกี่ยวกับพิธีกรรมในกิริกัวมีลักษณะค่อนข้างเรียบง่าย แต่ความสำคัญของแหล่งโบราณคดีนี้อยู่ที่ความรุ่มรวยของงานประติมากรรมซึ่งรวมถึงประติมากรรมหินที่สูงที่สุดเท่าที่เคยสร้างขึ้นใน[[โลกใหม่]]<ref name="Coe121">Coe 1999, p.121.</ref>


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:55, 23 สิงหาคม 2564

อุทยานโบราณคดีและซากเมืองกิริกัว *
  แหล่งมรดกโลกโดยยูเนสโก
สิ่งก่อสร้างในเมืองโบราณกิริกัว
พิกัด15°16′14.1″N 89°02′24.9″W / 15.270583°N 89.040250°W / 15.270583; -89.040250
ประเทศ กัวเตมาลา
ภูมิภาค **ลาตินอเมริกาและแคริบเบียน
ประเภทมรดกทางวัฒนธรรม
เกณฑ์พิจารณา(i), (ii), (iv)
อ้างอิง149
ประวัติการขึ้นทะเบียน
ขึ้นทะเบียน1981 (คณะกรรมการสมัยที่ 5)
พื้นที่34 ha (84 เอเคอร์)
* ชื่อตามที่ได้ขึ้นทะเบียนในบัญชีแหล่งมรดกโลก
** ภูมิภาคที่จัดแบ่งโดยยูเนสโก

กิริกัว (สเปน: Quiriguá) เป็นแหล่งโบราณคดีมายาในจังหวัดอิซาบัลทางตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศกัวเตมาลา เป็นแหล่งขนาดกลางที่ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 3 ตารางกิโลเมตร (1.2 ตารางไมล์) ตามแนวแม่น้ำโมตากัวตอนล่าง[1] โดยมีศูนย์กลางประกอบพิธีกรรมตั้งอยู่ห่างจากฝั่งเหนือของแม่น้ำประมาณ 1 กิโลเมตร (0.6 ไมล์)[2] ในสมัยคลาสสิกของอารยธรรมมายา (ค.ศ. 200–900) กีริกัวเป็นจุดเชื่อมต่อของเส้นทางการค้าที่สำคัญหลายเส้นทาง บริเวณนี้มีผู้คนเข้าครอบครองก่อน ค.ศ. 200 การก่อสร้างอัครปุระเริ่มขึ้นเมื่อประมาณ ค.ศ. 550 และการก่อสร้างอาคารขนาดใหญ่จำนวนมากเริ่มขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 8 การก่อสร้างทั้งหมดหยุดลงเมื่อถึงประมาณ ค.ศ. 850 ยกเว้นในช่วงที่มีผู้คนกลับเข้าไปครอบครองอยู่ระยะหนึ่งในสมัยหลังคลาสสิกตอนต้น (ค.ศ. 900–1200) กิริกัวมีแบบอย่างทางสถาปัตยกรรมและประติมากรรมคล้ายคลึงกับโกปันที่ตั้งอยู่ใกล้เคียง โดยเมืองทั้งสองมีประวัติศาสตร์เกี่ยวพันกันอย่างใกล้ชิด[3]

การขยายตัวอย่างรวดเร็วของกิริกัวในคริสต์ศตวรรษที่ 8 มีความสัมพันธ์กับชัยชนะทางการทหารของกษัตริย์กัก ตีลิว ชัน โยปาต เหนือโกปันใน ค.ศ. 738 เมื่อกษัตริย์วาชักลาฆูน อูบาฮ์ กาวีล แห่งโกปันทรงพ่ายแพ้ ถูกจับ และถูกบูชายัญที่จัตุรัสใหญ่แห่งกิริกัว[4] ก่อนหน้านี้กิริกัวเคยเป็นรัฐบริวารของโกปันแต่ก็รักษาเอกราชไว้ได้ในภายหลัง สถาปัตยกรรมที่เกี่ยวกับพิธีกรรมในกิริกัวมีลักษณะค่อนข้างเรียบง่าย แต่ความสำคัญของแหล่งโบราณคดีนี้อยู่ที่ความรุ่มรวยของงานประติมากรรมซึ่งรวมถึงประติมากรรมหินที่สูงที่สุดเท่าที่เคยสร้างขึ้นในโลกใหม่[5]

อ้างอิง

  1. Ashmore 1980, p.24.
  2. Sharer & Traxler 2006, p.352.
  3. Miller 1999, p.49.
  4. Looper 2003, pp.4–5, 83.
  5. Coe 1999, p.121.

บรรณานุกรม

  • Ashmore, Wendy (1980). "The Classic Maya Settlement at Quirigua: Recent agricultural activities have helped reveal the extent of the buried settlement" (PDF online publication). University of Pennsylvania Museum of Archaeology and Anthropology. สืบค้นเมื่อ 2009-08-20.
  • Coe, Michael D. (1999). The Maya. Ancient peoples and places series (6th, fully revised and expanded ed.). London and New York: Thames & Hudson. ISBN 0-500-28066-5. OCLC 59432778.
  • Looper, Matthew G. (2003). Lightning Warrior: Maya Art and Kingship at Quirigua. Linda Schele series in Maya and pre-Columbian studies. Austin: University of Texas Press. ISBN 0-292-70556-5. OCLC 52208614.
  • Miller, Mary Ellen (1999). Maya Art and Architecture. London and New York: Thames & Hudson. ISBN 0-500-20327-X. OCLC 41659173.
  • Sharer, Robert J.; Loa P. Traxler (2006). The Ancient Maya (6th, fully revised ed.). Stanford, California: Stanford University Press. ISBN 0-8047-4817-9. OCLC 57577446.